วันอาทิตย์ที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2551

โอลิมปิก 2008









โอลิมปิกฤดูร้อน 2008 (จีน: 2008年 夏季奥林匹克运动会, เอ้อร์หลิงหลิงปาเหนียน เซี่ยจี้อ้าวหลินผี่เค่อยวื่นต้งฮุ่ย; อังกฤษ: Games of the XXIX Olympiad) เป็นการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 29 จัดขึ้น ณ กรุงปักกิ่ง ฮ่องกง ชิงเต่า ชิงหวงเต่า เซี่ยงไฮ้ และเสิ่นหยาง สาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันที่ 8 สิงหาคม (การแข่งขันฟุตบอลจัดขึ้นในวันที่ 6 สิงหาคม) ถึง 24 สิงหาคม พ.ศ. 2551 ตามมาด้วยพาราลิมปิกฤดูร้อน 2008 ตั้งแต่วันที่ 6 กันยายน ถึงวันที่ 17 กันยายน การแข่งขันโอลิมปิกครั้งนี้ถือเป็นการแข่งขันครั้งที่สามที่มีเจ้าภาพอยู่ในทวีปเอเชีย (ครั้งที่หนึ่ง ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ในปี พ.ศ. 2507 และครั้งที่สอง ณ กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้ พ.ศ. 2531) โดยพิธีเปิดได้เริ่มขึ้นในเวลา 20 นาฬิกา (8 นาฬิกาตอนกลางคืน) 8 นาทีตามเวลากรุงปักกิ่ง (18 นาฬิกา 8 นาที ตามเวลาแห่งประเทศไทย) โดยเลข 8 นี้เป็นเลขนำโชคของชาวจีนซึ่งเชื่อกันว่าเลข 8 เป็นเลขมงคลมากที่สุด เพราะออกเสียงคล้ายกับคำว่า ฟา (發/发) ที่หมายถึง ร่ำรวย

นายหวัง ฉีซัน นายกเทศมนตรีนครปักกิ่งกล่าวเสริมว่า หากพิธีเปิดงานสามารถดำเนินไปได้ด้วยดี ก็ถือว่าการจัดงานกีฬาโอลิมปิกในครั้งนี้สำเร็จไปกว่าครึ่งแล้ว โดยทางจีนมีความพร้อมอย่างเต็มที่ในการจัดการแข่งขันครั้งนี้ เพื่อแสดงศักยภาพของตนให้ปรากฏแก่ชาวโลก ซึ่งอาจเรียกกีฬาโอลิมปิกครั้งนี้ได้ว่าเป็น "อภิมหาโอลิมปิก" เลยก็ว่าได้

กีฬาโอลิมปิก 2008 เริ่มตั้งแต่วันที่ 8 จนถึงวันที่ 24 สิงหาคม ซึ่งคาดการณ์ว่าจะมีนักท่องเที่ยวต่างชาติกว่า 3 ล้านคน รวมถึงนักกีฬาประมาณ 20,000 คนและผู้สื่อข่าวอีกราว 30,000 ชีวิตเดินทางมาร่วมงานนี้


ปักกิ่งได้รับคัดเลือกให้เป็นเมืองเจ้าภาพจัดมหกรรมกีฬาโอลิมปิกในการประชุมคณะกรรมการโอลิมปิกสากล สมัยที่ 112 ณ กรุงมอสโก สหพันธรัฐรัสเซีย เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2544



สนามกีฬาแห่งชาติปักกิ่ง



ศูนย์กลางการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 อยู่ที่สนามกีฬาแห่งชาติปักกิ่ง ซึ่งมีชื่อเล่นว่า "รังนก" เนื่องจากรูปแบบโครงสร้างที่คล้ายรังนก [3] การสร้างสนามกีฬาเริ่มขึ้นในวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2546 เดิมทีทางการจีนมีแผนที่จะใช้สนามกีฬาแห่งชาติกวางตุ้งเป็นสถานที่แข่งขันโอลิมปิก ดังนั้นสนามกีฬาแห่งนี้จึงถูกสร้างขึ้นและเสร็จในปี พ.ศ. 2544 ทว่าทางการจีนเปลี่ยนการตัดสินใจและสร้างสนามกีฬาแห่งชาติใหม่ในปักกิ่ง[4] ต่อมาทางการจีนเปิดการแข่งขันออกแบบสนามกีฬาแห่งชาติที่จะสร้างขึ้นใหม่ในปักกิ่ง บริษัทสัญชาติสวิส Herzog & de Meuron Architekten AG ในความร่วมมือกับกลุ่มออกแบบและค้นคว้าสถาปัตยกรรมจีนชนะการประกวด โดยสนามกีฬามีลักษณะเป็นโครงคอนกรีตคล้ายตาข่ายและจะสามารถจุผู้คนได้ถึง 90,000 คนในระหว่างการแข่งขันโอลิมปิก โดยเดิมสถาปนิกพรรณาถึงลักษณะการออกแบบที่คล้ายคลึงกับรังนกพร้อมด้วยรูโล่งอันใหญ่โตที่มีเพดานสนามที่หดตัวด้วยเหนือสนามกีฬา อย่างไรก็ตามในปี พ.ศ. 2547 ความคิดที่ให้มีเพดานสนามที่หดตัวได้ถูกยกเลิกไปเพราะเหตุผลทางด้านเศรษฐกิจและความปลอดภัย สนามกีฬาแห่งชาติปักกิ่งจะเป็นสถานที่ที่ทำพิธีเปิดและปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 เช่นเดียวกับเป็นสถานที่แข่งขันกรีฑาและฟุตบอลรอบชิงชนะเลิศ ผู้ออกแบบสนามกีฬา อ้าย เหวยเหว่ย ถอนตัวจากการสนับสนุนจีนสำหรับโอลิมปิก พร้อมให้สัมภาษณ์ว่า "เขาไม่ต้องการที่จะยุ่งเกี่ยวกับเรื่องพรรค์นี้อีกแล้ว"
ขณะที่หมู่บ้านโอลิมปิกปักกิ่งเปิดขึ้นแล้ว ณ วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 และเปิดสำหรับสาธารณชนในวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2551



สัญลักษณ์ประจำโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ถูกเรียกว่า ปักกิ่งร่ายรำ (จีนตัวย่อ: 舞动的北京, ‘Dancing Beijing’) สัญลักษณ์รวมตราสัญลักษณ์จีนดั้งเดิมและตัวละครจากพู่กันจีน จิง (京 ที่แปลว่า "เมืองหลวง" ซึ่งอยู่ในคำว่า "เป่ยจิง" ชื่อปักกิ่งภาษาจีน) ในลักษณะขฑองนักกรีา แขนที่เปิดอ้าของคำว่า จิง มีความหมายเสมือนการเชื้อเชิญจากประเทศจีนไปทั่วโลกในการที่จะแบ่งปันวัฒนธรรมจีน ประธานของ IOC ฌาคส์ รอกก์ ดีใจมากกับสัญลักษณ์ และให้สัมภาษณ์ว่า "สัญลักษณ์ใหม่ของคุณนำพาไปยังความสวยงามที่ดีเยี่ยมและพลังของประเทศจีนซึ่งอยู่ในมรดกและคนของคุณในทันที"

สโลแกนของโอลิมปิก 2008 คือ "One World One Dream" (จีนตัวเต็ม: 同一個世界 同一個夢想; จีนตัวย่อ: 同一个世界 同一个梦想; พินอิน: tóng yīgè shìjiè tóng yīgè mèngxiǎng, ถงอีเก้อซื่อจีเย่ ถงอีเก้อม่งเสี่ยง)[8] แปลว่า หนึ่งโลก หนึ่งความฝัน สโลแกนนี้ถูกเลือกจากการเสนอมากกว่า 210,000 รายการจากทั่วโลก[3] มีความหมายเป็นการเรียกร้องให้ทั้งโลกเข้าร่วมจิตวิญญาณแห่งโอลิมปิกและสร้างอนาคตที่ดีขึ้นเพื่อมวลมนุษยชน

สัญลักษณ์โอลิมปิก 2008สัญลักษณ์ดังกล่าวถูกตั้งชื่อว่า 'ปักกิ่งร่ายรำ'จำลองรูปแบบจากตราประทับจีนโบราณ ซึ่งตราประทับนี้ส่วนพื้นเป็นสีแดง ส่วนอักษรแกะสลักเป็นตัว ‘จิง’ (京) ซึ่งอยู่ในคำว่า เป่ยจิง (ปักกิ่ง) อีกทั้งมีลักษณะคล้ายตัวอักษร "เหวิน" ซึ่งหมายถึงอารยธรรมที่สืบทอดมายาวนานของชนชาติจีน นอกจากนั้น ตัวอักษรที่ปรากฏยังเป็นลักษณะท่าทางของคนที่วิ่งไปข้างหน้าขณะกำลังยินดีที่ได้รับชัยชนะ

ด้านล่างตราประทับเป็นอักษรภาษาอังกฤษที่เขียนจากปลายพู่กันจีน คำว่า ‘Beijing 2008 ’ถัดลงไปเป็นสัญลักษณ์ 5 ห่วงของโอลิมปิก

ภายหลังที่มีการเปิดตัวสัญลักษณ์โอลิมปิก ปักกิ่งร่ายรำ บรรดาผู้ผลิตต่างใช้สัญลักษณ์ดังกล่าวประทับอยู่บนผลิตภัณฑ์ต่างๆ มากมาย เช่น เสื้อยืด หมวก แสตมป์พวกกุญแจ และเหรียญที่ระลึก เป็นต้น ปัจจุบันสินค้าดังกล่าวกลายเป็นสินค้าที่ชาวเมืองปักกิ่งพากันแย่งเป็นเจ้าของ เพราะมีจำหน่ายในกรุงปักกิ่งแห่งเดียวเท่านั้น

วันพฤหัสบดีที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2551

ศุกร์ 13 วันอาถรรพ์


ศุกร์นี้ตรงกับวันที่ 13 พอดีเล้ยย

ความเชื่อที่ว่าถ้าวันศุกร์เกิดไปตรงกับวันที่ 13 ของเดือนใดก็ตามแล้ว จะกลายเป็นวันแห่งความโชคร้ายนั้น เป็นความเชื่อที่อยู่ในบรรดาชาติที่พูดภาษาอังกฤษทั่วโลก และยังขยายไปถึงชาติอื่นๆอีกด้วย และในประเทศบางประเทศอย่าง กรีซ สเปน ถือเอาวันอังคารที่ 13 เป็นวันโชคร้ายเช่นกัน สำหรับโรคกลัววันศุกร์ที่ 13 มีชื่อเรียกว่า Paraskavedekatriaphobia หรือ paraskevidekatriaphobia หรือ friggatriskaidekaphobia ซึ่งเป็นอาการหนึ่งของโรค triskaidekaphobia คือ โรคกลัวหมายเลข 13

จุดเริ่มต้นความเชื่อเรื่องศุกร์ 13 นั้น เชื่อมโยงกับความเชื่อที่ว่ามีคน 13 คนร่วมทานอาหารมื้อสุดท้ายกับพระเยซู (The Last Supper) ก่อนที่พระองค์จะถูกนำตัวไปตรึงบนไม้กางเขนในวันศุกร์ประเสริฐ (Good Friday) กระนั้น ไม่มีหลักฐานใดที่บ่งชี้ว่า ประชาชนถือเอาว่าวันศุกร์ที่ 13 เป็นวันโชคร้ายจนเมื่อมาถึงศตวรรษที่ 19 อย่างไรก็ตาม หมายเลข 13 มีประวัติว่ามีความเกี่ยวข้องกับเรื่องโชคร้ายมายาวนาน เนื่องจาก ตามปฏิทินจันทรสุริยคติแล้ว ในบางปีต้องมีเดือน 13 เดือน ขณะที่ตามปฏิทินเกรกอเรียนและปฏิทินของศาสนาอิสลามจะมี 12 เดือนเสมอ

ขณะที่บ้างก็ว่า ความเชื่อนี้มีจุดเริ่มต้นมาจากความเชื่อและตำนานของชาวนอร์สในดินแดนสแกนดิเนเวียที่เรียกว่า Norse myth เกี่ยวกับเทพ 12 องค์ มารวมกันจัดงานเลี้ยงในห้องโถงของเอกีร์ เทพแห่งมหาสมุทร แต่แล้วเทพแห่งไฟที่ชื่อ โลกิ ซึ่งไม่ได้รับเชิญมาร่วมงานจึงพังประตูรั้วเข้ามาร่วมงานในฐานะแขกคนที่ 13 และยังให้เทพฮอดซึ่งเป็นเทพแห่งความมืดมิดซึ่งตาบอดโยนกิ่งของพืชกาฝากใส่ บาลเดอร์ เทพแห่งความสุขและความยินดี จนบาลเดอร์สิ้นลมหายใจไปในทันที ทำให้โลกต้องตกอยู่ในความมืดมิดและความเศร้าสลด

กระนั้น ความเชื่อนี้มีผู้แย้งว่าเป็นไปไม่ได้ เนื่องจากข้อความในบทกวีโลกาเซนนาที่เป็นภาษาโอลด์นอร์สได้มีการกล่าวถึงชื่อเทพ 17 องค์ที่ไปร่วมงานเลี้ยงดังกล่าว ซึ่งระบุว่าเทพโลกิเป็นผู้พังประตูรั้วเข้าไปจริง แต่ว่าเขาไม่ใช่คนที่ 13 และยังไม่มีความเชื่อมโยงระหว่างบทดังกล่าวกับการถึงจุดจบของเทพบาลเดอร์อีกด้วย

ด้วยเหตุนี้ คำอธิบายในข้อแรกจึงดูมีความเชื่อมโยงกับเรื่องความโชคร้ายของเลข 13 ที่เก่าแก่ที่สุดในอังกฤษ ซึ่งมีการบันทึกเอาไว้ในศตวรรษที่ 18 โดยเชื่อกันว่า เมื่อไหร่ก็ตามที่คน 13 คนมานั่งทานอาหารร่วมโต๊ะเดียวกันแล้ว คนที่ลุกจากโต๊ะไปเป็นคนแรกจะเป็นคนแรกที่ต้องตาย

อีกทฤษฏีที่กล่าวถึงวันศุกร์ที่ 13 ระบุว่า วันศุกร์ที่ 13 ตุลาคม 1307 เป็นวันที่พระเจ้าฟิลิปที่ 4 แห่งฝรั่งเศส ทำการจับกุมตัวบรรดาอัศวินเทมพลาร์ชาวฝรั่งเศสจำนวนหลายร้อยคนไป ก่อนจะนำตัวไปทรมานและสังหาร เพื่อนำทรัพย์สินของพวกเขามาเป็นของฝรั่งเศส

ทั้งนี้ เรื่องที่น่าแปลกเกี่ยวกับวันศุกร์ที่ 13 คือ มีหลักฐานที่ยืนยันว่า วันศุกร์ที่ 13 เป็นวันโชคร้ายสำหรับใครบางคนจริงๆ โดยนักจิตวิทยาพบว่า ในบางคนจะมีโอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุหรือล้มป่วยในวันศุกร์ที่ 13 ซึ่งมีการให้เหตุผลเอาไว้ว่าเป็นเพราะบางคนรู้สึกวิตกจริตเป็นอย่างมากในวันศุกร์ที่ 13 โดยทางศูนย์จัดการความเครียดและสถาบันอาบำบัดการกลัวในเมืองแอชวิลล์ มลรัฐนอร์ทแคโรไลนา ประเมินว่าในแต่ละครั้งที่มีวันศุกร์ที่ 13 สหรัฐอเมริกาต้องสูญเสียทางเศรษฐกิจเป็นเงิน 800 900 ล้านเหรียญสหรัฐฯทีเดียว เพราะว่าประชาชนบางคนไม่กล้าเดินทางไปไหนและไม่กล้าแม้แต่จะไปทำงาน

วันอาทิตย์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2551

Blythe


A BRIEF HISTORY OF BLYTHE AND HER REINCARNATION


Manufactured by Kenner in 1972, the original Blythe was designed by Marvin Glass & Associates, one of the world's foremost toy design studios. When the Toy Industry Hall of Fame was established in 1984, Marvin Glass was in the first group inducted (which coincidently also included Merrrill L. Hassenfeld of Hasbro, Inc.), ten years after his death. Kenner was bought out by Tonka Toys, which in turn was bought out by Hasbro in the mid-1980s. And that is how Hasbro has come to own the Blythe property.



In 1972, children found the large eyes that changed from green to pink to blue to orange with the pull of the drawstring at the back of Blythe's head a bit on the scary side. Blythe was produced for only one year, but it is now apparent that she was ahead of her time. For many years, Blythe was a curiosity that only doll collectors were interested in. Then in 1997, a friend introduced Gina Garan to Blythe, thinking that Gina looked like the doll. Gina had just been given an old camera and she needed to test it. Her first photos using that camera were of Blythe. Gina, who works as a video and TV producer, started carrying at least one of her Blythes wherever she went on her travels around the world and took many photos.

In December 1999, at the opening of an exhibition for the CWC International artists in Soho, New York, Gina showed her photos to Junko Wong. Junko took these photos to Parco and made a presentation for an exhibition and as a "virtual model" for Parco's innovative sales promotions. In the summer of 2000, This is Blythe, photos by Gina Garan, was published by Chronicle Books. The Christmas 2000 Parco campaign featured Blythe in a TV commercial and print media and Blythe took off in Japan. On eBay, vintage Blythes jumped in price from $35 to $350. Blythe continued as Parco's "image girl" through the spring and into the summer of 2001. The price for vintage Blythes jumped to thousands of dollars U.S. on eBay. Even the Neo-Blythes are sold for up to four times their retail price on the Yahoo auction site in Japan.


In June 2001, the first of the Neo-Blythes - produced by CWC and manufactured by Takara - went on the market. The launch of the neo-Blythes was in conjunction with a photo exhibition by Gina Garan. Gina made the trip from New York for the launch and exhibition.

The Parco Limited Edition (1000 dolls), sold out in less than an hour, was followed by the Mondrian, and then Rosie Red, Holly Wood, All Gold In One, Kozy Kape Inspired, Aztec Arrival Inspired, Sunday Best, and in conjunction with the first year anniversary of the neo-Blythes in Japan, Miss Anniversary Blythe. The first year anniversary was marked by a series of Blythe events in Tokyo, which included an exhibition and charity fashion show at the Spiral Hall in Aoyama and exhibitions at the Rocket and CWC Galleries, and at IMS in Fukuoka, Kyushu. The exhibition featured photos by Gina Garan and dolls styled by artists, fashion designers, and Blythe fans. The fashion show featured couture for Blythe by such internationally known designers as: Issey Miyake, Chisato Tsumori, and Hysteric Glamour.

วันจันทร์ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2551

นักเขียนต้องพกสิ่งเหล่านี้ติดตัว















โดยศักยภาพของมนุษย์แล้วไม่มีใครที่จะสามารถจดจำเรื่องราวต่างๆไว้ได้ทั้งหมด เรื่องราวบางเรื่องถ้าเราปล่อยให้มันผ่านไปสักช่วงระยะเวลาหนึ่ง ข้อมูลก็อาจจะถูกลบเลือนไปได้


นักเขียนก็เช่นเดียวกันจ๊ะ ในบางครั้งเมื่อไปพบข้อมูลดีๆ และเกิดแรงบรรดาลใจที่อยากจะเขียนเรื่องราวดังกล่าวนั้น แต่เนื่องจากเวลาหรือสถานที่ไม่เอื้ออำนวยทำให้เขียนไม่ได้ หลายต่อหลายครั้งที่เราปล่อยให้มันผ่านไป พอมีเวลาจะเขียนก็พบว่าเราลืมมันไปซะแล้วพี่นัทเป็นบ่อยเลยล่ะจ๊ะ



1. สมุดบันทึก
สมุดบันทึกเป็นสิ่งจำเป็นนักเขียนมาก ทั้งนี้เพราะการเดินทางย่อม อาจจะต้องพบต้องเห็นสิ่งต่างๆ มากมาย บางทีสิ่งที่พบเห็นนั้นเป็นเรื่องที่นักเขียนเห็นว่าแปลกและน่าสนใจสิ่งที่จะช่วยจำได้เป็นอย่างดีก้คือการจดบรรทึกเรื่องราวดังกล่าวไว้ใช้เป็นข้อมูลสำหรับการเขียน

สมุดบันทึกนี้ บางคนชอบที่จะใช้สมุดบันทึกเล่มโตๆ เพราะเวลาจดสามารถจดได้มากและละเอียดกว่า แต่บางคนก็บอกว่าสมุดบันทึกเล่มใหญ่ พกพาไม่สะดวก จะใช่เล่มเล็กแทนก็ได้

เรื่องสมุดบันทึกจะเล่มเล็กหรือใหญ่ไม่ใช่ประเด็นสำคัญ สิ่งที่สำคัญก็คือเราชอบที่จะใช้บันทึกแบบไหน ขออย่างเดียวว่าขอให้สมุดบันทึกเล่มดังกล่าวนั้นสามารถบันทึกความทรงจำของเราไว้ได้เท่านั้นก็เพียวพอ

น้องๆนักเขียนบางคนไม่ชอบใช้สมุดบันทึก แต่ชอบใช้กระดาษเป็นแผ่นๆ ปัญหาที่จะเกิดตามมาก็คือมันจะหาย วิธีแก้ง่ายๆก็คือ หลังจากที่จดบันทึกแล้วให้รวมรวบตามเรื่องหรือตามหัวข้อที่บันทึกแล้วแมคเย็บรวมเป็นเล่มเดียวกัน แล้วจัดใส่แฟ้มแยกเป็นเรื่องๆไป

วิธีอย่างนี้ก็นับว่าใช้ได้ เวลาเราจะเขียนเมื่ออยากจะเขียนเราก็แค่หยิบแฟ้มขึ้นมาเปิดหาข้อมูลที่เราต้องการเท่านั้นเอง



2. บัตรช่วยจำ
ในบางครั้งผู้เขียนก็มักจะตัดกระดาษแผ่นเล็กๆ เสียบเข้าไปในกระเป๋าพกพาไปไหนมาไหนด้วย เพราะบางครั้งไปพบเห็นข้อความหรือได้ฟังคำพุดที่ประทับใจจากใครก็จดเอาไว้ได้ทันที หรือแม้แต่ตอนที่น้องๆเกิดปิ้งไอเดียดีๆ ก็สามารถจดเอาไว้ได้ในตอนนั้นเลย เวลาจะใช้ก็แค่เปิดดูทบทวนวามทรงจำซักนิดความคิดครั้งนั้นก็จะฉายออกมาให้เรารู้ว่าในขณะนั้นเรากำลังคืออะไรอยู่

วิธีแบบนี้ทำให้เรามีสติแล้วยังเป็นการฝึกหัดการใช้ความทรงจำได้ดียิ่งขึ้นอีกด้วยล่ะจ๊ะ


3. เทปบันทึกเสียงขนาดเล็ก
ยุคเทคโนโลยีอย่างนี้ บางครั้งการจดบันทึกในช่วงฉุกละหุกจะไม่ทันการณ์ การนำเทคโนโลยยีมาใช้ให้เป็นประโยชน์ก็ช่วยให้นักเขียนทั้งหลายไม่พลาดลายละเอียดต่างๆ อาจจะใช้เครื่องบันทึกเสียง หรือไม่ก็เครื่องmp3ที่สามารถบันทึกเสียงได้ก็ได้จ๊ะ



4. ปากกา ดินสอ ม้วนเทป ถ่าน
ในกรณีที่ใช้สมุดจกบันทึก บัตรช่วยจำ เทปบันทึกเสียง สิ่งที่ลืมไม่ได้ก็คืออุปกรณ์สำหรับใช่เขียน และอุปกรณ์ที่ใช้กับเครื่องบันทึกเสียง สิ่งเหล่านี้ต้องเตรียมให้พร้อมเพราะบางครั้งบางคราวข้อมูลสำคัญ เกิดขึ้นเพียงแป๊ปเดียวเท่านั้น


5. เทคนิคการบันทึก
การบันทึกข้อมูลที่จะเก็บไว้ใช้เขียนหนังสือนั้น บางอย่างไม่จำเป็นต้องจดบันทึกโดยละเอียดก็ได้ เพราะการจดบันทึกนี้เป็นการจดบันทึกเพื่อช่วยจำ สำหรับข้อมูลบางอย่างเท่านั้น

ดังนั้นการจดบันทึกจึงต้องอาศัยเทคนิคในการจดดังนี้



5.1 จดประเด็นที่เราไม่เข้าใจ

เรื่องบางเรื่องเป็นเรื่องแปลกใหม่สำหรับเรา อย่างเช่น ภาษาถิ่นที่มีสำเนียง และความหมายที่เราไม่คุ้นเคย แต่ถ้าจะนำมาเขียนเป็นเสน่ห์ของเรื่องก็จดบันทึกกันลืมเอาไว้

5.2 เกร็ดความรู้เสริม

เรื่องราวหลายเรื่องที่จะนำมาเขียนหนังสือนั้น บางทีก็มีตำนานเข้ามาแทรกซึ่งไม่มีหลักฐานอ้างอิง แต่ก็เป็นเรื่องราว เป็นความเชื่อที่เบ่าสืบต่อกันมา โดยใช่พยามแวดล้อมที่ปรากฎอยู่เป็นเครื่องยืนยัน

เรื่องทำนองนี้สามารถนำมาเสริมประกอบการเขียนให้มีรสชาติได้ เพราะเกร็ดความรู้เล็กๆน้อยๆ ช่วยเสริมเรื่องจริงให้เด่นขึ้น คนอ่านก็ได้ทั้งสาระและความบันเทิงควบคู่กันไป








วันอังคารที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2551

นมเปรี้ยว

ชาวอินเดียเคยเรียกโยเกิร์ตว่า "อาหารของพระเจ้า" เชื่อกันว่ามันช่วงรักษาอาการนอนไม่หลับ ลบรอยตีนกาเป็นยาอายุวัฒนะ

ดร.เอเลียส ผู้ได้รางวัลโนเบลในปี 1908 เคยประกาศความเชื่อไว้ในหนังสือ The Prolongation of life และ The Nature of Man เมื่อปี 1907 ว่า "นมเปรี้ยว คือยาอายุวัฒนะสำหรับมนุษย์"

คนทั่วไปเชื่อว่านมเปรี้ยวช่วยลดความอ้วน ชวนให้น่าติดตามว่า นมเปรี้ยวเป็นเพียง "นม" ที่มีรส "เปรี้ยว" หรือ เป็นอาหารที่มีคุณค่าต่อสุขภาพมากไปกว่าอาหารธรรมดาชนิดหนึ่ง

นมเปรี้ยว-ความสับสน

นมเปรี้ยว ในความรู้สึกของคนไทย คือนมที่มีรสเปรี้ยว
งั้นเอามะนาวบีบใส่น้ำนม จะได้นมเปรี้ยวไหม ?
ได้ครับ…ได้นมเปรี้ยวเหมือนกัน แต่ไม่ใช่นมเปรี้ยวที่ผมจะกล่าวถึงในบทความนี้

จากความหมายที่ว่า นมเปรี้ยวคือนมที่มีรสเปรี้ยว การทำนมให้เปรี้ยว จึงอาจทำโดนเติมกรดรสเปรี้ยวลงไปในน้ำนม หรือจะหมักน้ำนมด้วยจุลินทรีย์บางชนิด จนเกิดรสเปรี้ยวเองตามธรรมชาติแบบคนโบราณก็ย่อมได้ การหมักแบบนี้ก็เหมือนกับการทำน้ำส้มสายชูดอง หน่อไม้ดอง ผักกาดดอง ดังนั้นนมเปรี้ยวก็คือนมดองชนิดหนึ่ง

นมเปรี้ยวที่ผมกำลังจะพูดถึงต่อไป ผมเรียกมันว่า นมเปรี้ยวแท้ คือนมเปรี้ยวที่ใช้กรรมวิธีแบบดั้งเดิม เปรี้ยวจากการหมัก และมีจุลินทรีย์ที่ยังมีชีวิตหลงเหลืออยู่จำนวนมาก
ส่วนนมเปรี้ยวที่เอากรดมาเติมให้มีรสเปรี้ยว ผมถือว่าเป็นนมเปรี้ยวเทียม ทำขึ้นมาเพียงเพื่อปรุงแต่งรสชาติ ไม่มีคุณสมบัติเป็น "ยาอายุวัฒนะ" หรือ "อาหารของพระเจ้า" ตามที่กล่าวข้างต้น

ผู้บริโภคชาวไทยส่วนใหญ่คงสับสน ไม่รู้ว่า นมเปรี้ยวที่ขายตามท้องตลาด ชนิดใดเป็นนมเปรี้ยวแท้ ชนิดใดเป็นนมเปรี้ยวเทียม เพราะมีขายสารพัดยี่ห้อ รสชาติเหมือนกัน ดังนั้นผมจะกล่าวถึงวิธีดูนมเปรี้ยวที่คุณดื่ม เป็นแบบใดในตอนท้ายครับ

นมเปรี้ยวโยเกิร์ต

วัฒนธรรมการดื่มนมเปรี้ยวในคนไทยทุกวันนี้ ได้อิทธิพลจากตะวันตกด้วยความเชื่อว่า อุดมด้วยคุณค่าทางโภชนาการและให้พลังงานต่ำ เราเรียกนมเปรี้ยวอีกชื่อว่า "โยเกิร์ต" ซึ่งมาจากภาษาฝรั่ง Yogurt หรือ Yoghurt ฝรั่งเองก็ยืมคำนี้มาจากภาษาตุรกี

ในเชิงวิชาการ โยเกิร์ตเป็นผลิตภัณฑ์นมที่ได้จากการหมักและตกตะกอนจับเป็นก้นอวุ้นข้นๆ ด้วยแบคทีเรียที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ทำได้ทั้งจากนมวัว แพะ แกะ อูฐ และควาย โยเกิร์ตทำได้ง่ายมาก จัดเป็นอาหารก้นครัวของหลายประเทศ

เชื่อว่าชาวตุรกีเป็นผู้ค้นพบโยเกิร์ต ทุกวันนี้ชาวตุรกีทำโยเกิร์ตโดยต้มนมในหม้อเปิดฝาเพื่อให้นมข้น และฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่มีอยู่ในน้ำนมตามธรรมชาติ หลังจากทิ้งให้อุ่น ก็ผสมโยเกิร์ตเก่าที่เหลือจากเมื่อวานลงไปเป็นหัวเชื้อ ทิ้งไว้สองสามชั่วโมงจนเย็นเท่าอุณหภูมิห้องก็พร้อมรับประทาน

ในทางอุตสาหกรรม ผู้ผลิตใช้นมสดผสมกับนมผงเพื่อให้เข้มข้น เติมเชื้อ Streptococcus thermophilus และ Lactobacillus bulgaricus บางทีก็ใช้ L. acidophilus หรือยีสต์ตัวอื่นๆ ใส่ลงไปด้วย แล้วหมักไว้ที่อุณหภูมิ 43-44 องศาเซลเซียส นาน 4-5 ชั่วโมง จะเห็นนมเปลี่ยนเป็นครีมข้น เกิดรสเปรี้ยวจากกรดแลคติกที่เชื้อปล่อยออกมา

ดังนั้น นมเปรี้ยวที่เกิดจากกรรมวิธีหมัก จะเป็นนมเปรี้ยวที่มีทั้งกรดแลคติก และเชื้อจุลินทรีย์ที่มีชีวิตปนอยู่ในน้ำนม ทุกครั้งที่ทานหรือดื่มโยเกิร์ต เราไม่เพียงได้รับสารอาหารที่เป็นประโยชน์เท่านั้น แต่เรายังได้รับจุลินทรีย์ที่ยังมีชีวิตจำนวนหนึ่งเข้าสู่ร่างกายด้วย และเจ้าจุลินทรีย์ที่มีชีวิตนี้เอง คือตัวการสำคัญที่ทำให้นมเปรี้ยวมีคุณค่าต่อร่างกายเหนือนมเปรี้ยวชนิดที่ทำเทียมด้วยการเติมกรดพอให้มีรสเปรี้ยว

เหตุเพราะมันมีจุลินทรีย์ที่ยังมีชีวิต นมเปรี้ยวแบบโยเกิร์ต จึงต้องเก็บรักษาในตู้เย็นที่อุณหภูมิ 7 องศาเซลเซียส จะเก็บได้นานประมาณ 15 วัน แต่ถ้าเก็บที่ 1 องศาเซลเซียสจะอยู่ได้นานถึงสองเท่า

นมเปรี้ยวที่วางขายในบ้านเรา ทำจากนมวัว อาจผสมสารให้ความหวาน น้ำตาล ผลไม้ สารแต่งกลิ่นและสีตามสูตรผู้ผลิต บางคนทานโยเกิร์ตกับผลไม้สด บางครั้งผู้ผลิตผสมนมและทำให้เจือจางเพื่อดื่มได้ หรือทำในรูปไอศกรีม ชาวอินเดียผสมโยเกิร์ตในอาหารคาว แต่งรสเปรี้ยว หรือใส่ผักหรือแตงกวาคล้ายอาจาตเรียก Raita แถบอาหรับเรียก jajik

นมเปรี้ยวเป็นอาหารอุดมโภชนาการที่ย่อยง่ายกว่าน้ำนมสด อุดมด้วยโปรตีน วิตามินบี และแคลเซียม โยเกิร์ตในขนาดเสิร์ฟ 1 ขวดเล็กหรือ 14 ถ้วยเล็ก (คำนวณจากโยเกิร์ตที่ขายในแมคโดนัลด์) เทียบกับน้ำนมสดหนึ่งแก้วดื่ม หรือ 1 กล่องมาตรฐาน 240 ซีซี พบว่านมและนมเปรี้ยวให้พลังงานใกล้เคียงกัน ในขนาดหนึ่งอิ่มแต่ปริมาณโคเลสเตอรอลในโยเกิร์ตต่ำกว่ามาก

คุณค่าต่อสุขภาพ

ผู้ที่เชื่อถือคุณค่าของนมเปรี้ยวต่อสุขภาพมากที่สุด เห็นจะไม่มีใครเกินดร.เอเลียส เมทช์นิคอฟ นักวิทยาศาสตร์ผู้มีชื่อในปลายศตวรรษที่ 19 เพื่อนสนิทของหลุยส์ ปาสเตอร์

ดร.เอเลียส เป็นผู้ค้นพบ "Phagocytes" เซลล์ที่ทำหน้าที่เป็นทหารประจำบ้าน เคลื่อนที่ไปในกระแสเลือด คอยจับกินเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมที่หลุดเข้าไปในร่างกาย ผลงานด้านภูมิคุ้มกันมนุษย์ทำให้เขาได้รางวัลโนเบลในปี 1908 เมื่อเขาตายในปี 1916 นิตยสารเนเจอร์ได้สดุดี ดร.เอเลียสว่าเป็นนักวิทยาศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่คนหนึ่งของโลก

และนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบลผู้นี้แหละที่กล้าประกาศว่า "โยเกิร์ตคือยาอายุวัฒนะสำหรับมนุษย์" ในหนังสือ The Prolongation of life และ The Nature of Man เมื่อปี 1907

โบราณว่าจิ้งจกทักยังฟัง แล้วนักวิทยาศาสตร์ระดับโลกออกมากล่าวเช่นนี้มีหรือคนจะไม่ฟัง งานวิจัยเกี่ยวกับคุณประโยชน์ของโยเกิร์ตจึงเริ่มนับแต่บัดนั้นจนทุกวันนี้





วันศุกร์ที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2551

Danse




Dans son acception la plus générale, la danse est l'art de mouvoir le corps humain selon un certain accord entre l'espace et le temps, accord rendu perceptible grâce au rythme et à la composition chorégraphique.

La danse est un art corporel constitué d'une suite de mouvements ordonnés, souvent rythmés par de la musique.

Les danses se fondent soit sur un ensemble défini de mouvements dénués de signification en eux-mêmes, comme souvent dans le ballet ou les danses folkloriques européennes, soit sur une gestuelle symbolique, sorte de mime ou de pantomime, comme dans la plupart des danses asiatiques.

Chaque peuple danse pour des motifs distincts et de façon différente, très révélatrice de leur mode de vie.

Généralités
La danse peut être un art, un rituel ou un divertissement. Elle exprime des idées et des émotions ou raconte une histoire. La danse a en général un rapport direct dans l'histoire avec les autres arts (musique, peinture, sculpture, etc.)

Le corps peut réaliser toutes sortes d'actions comme tourner, se courber, s'étirer, ou sauter. En les combinant selon des dynamiques variées, on peut inventer une infinité de mouvements différents. Le corps passe à l'état d'objet, il sert a exprimer les émotions du danseur à travers ses mouvements, l'art devient le maître du corps.

Origines
Les premières indications sur l'exécution de danses datent de la Préhistoire, au paléolithique, où des peintures rupestres attestent de l'existence de danses primitives.

Il s'agit avant tout d'un acte cérémoniel et rituel, adressé à une entité supérieure afin de:

conjurer le sort (danse de la pluie)
donner du courage (danse de la guerre ou de la chasse)
plaire aux dieux (Antiquité égyptienne, grecque et romaine)
La danse primitive, couplée aux chants et à la musique, avait aussi probablement la capacité de faire entrer les participants dans un état de transe.

วันพฤหัสบดีที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2551

McDonald

ปิดเทอมมมมใหญ่ หัวใจอยู่ที่ครูสมศรี

555 5*



Somsri is extremely beautiful.



McDonald
ประวัติความเป็นมา

ตำนานความอร่อยของแฮมเบอร์เกอร์ร้านแมคโดนัลด์ ได้เริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2491 โดยผู้บุกเบิกคือ พี่น้องดิ๊กและแมค แมคโดนัลด์ ที่เปิดร้านแฮมเบอร์เกอร์ชื่อว่า "แมคโดนัลด์" เป็นแบบไดร์ฟทรู ในซานเบอร์นาดิโน เมืองเล็กๆ ในรัฐแคลิฟอร์เนีย

ภายหลังทั้งสองได้ขายกิจการให้กับ นายเรย์มอนด์ อัลเบิร์ต คร็อค เพื่อนำไปขยายสาขา จนทั่วสหรัฐอเมริกา โดยเริ่มต้น สาขาแรกที่รัฐอิลลินอยส์ ในปี พ.ศ. 2498 จวบจนทุกวันนี้มีร้าน แมคโดนัลด์ กว่า 30,000 สาขา ใน 121 ประเทศทั่วโลก (ข้อมูล มกราคม 2546) และนายเรย์มอน อัลเบิร์ต คร็อค ได้รับยกย่องให้เป็น บิดาแห่งอุตสาหกรรมอาหารบริการด่วน

ประวัติในไทย
ในปี พ.ศ.2528 นายเดช บุลสุข ผู้มีความประทับใจ ในรสชาติ และบริการของแมคโดนัลด์ เมื่อครั้งได้รับทุน American Field Service (AFS) ไปศึกษาในสหรัฐอเมริกา ได้รับเลือก
ให้เป็น ผู้ร่วมดำเนินการร้านแมคโดนัลด์ในประเทศไทย ซึ่งนับเป็นประเทศที่ 35 ของโลก โดยมีสาขาแรกที่อัมรินทร์ พลาซ่า

ร้านแมคโดนัลด์ทั่วโลกดำเนินกิจการโดยมีหัวใจการทำงานคือ "QSC&V" ซึ่งหมายถึง
Quality คุณภาพอาหารที่ดีมีมาตรฐานสม่ำเสมอ
Service การบริการที่รวดเร็ว อบอุ่นและเป็นมิตร
Cleanliness การรักษาความสะอาด และสุขอนามัย
และ Value คุณค่าของอาหารและบริการที่คุ้มค่าคุ้มราคา

ภายใต้มาตรฐาน QSC&V นี้ แมคโดนัลด์เป็นสถานที่ที่ให้ความ "อร่อยรส สนุกล้ำ" แก่คนทั้งครอบครัว ด้วยอาหารทั้งคาวหวาน และเครื่องดื่มนานาชนิด ไม่ว่าจะเป็นเบอร์เกอร์เนื้อ หมู ปลา ไก่ แมคนักเก็ตไก่ และไก่ทอด หรือไอศกรีม และ ซันเด หลากรส บริการจัดงานวันเกิดสำหรับคุณหนูๆ ห้องเครื่องเล่นเด็ก (PLAY PLACE) และการสมัครเป็นสมาชิกโรนัลด์ แมคโดนัลด์คลับ ที่มอบสิทธิพิเศษและของกำนัลมากมายให้กับเด็กๆ ที่เป็นสมาชิก


ตัวอย่างเมนูอาหาร


แคริบเบียน เบอร์เกอร์ กุ้ง (Caribbean Shrimp burger)
เมนูใหม่ที่อัดแน่นด้วยกุ้งสดชุบด้วยเกล็ดขนมปังทอดจนเป็นสีเหลืองทอง ราดด้วยค็อกเทลซอสสูตรพิเศษ พร้อมเติมความอร่อยด้วยผักกาดแก้วสดกรอบ และประกบด้วยเบอร์เกอร์เนื้อนุ่มโรยด้วยเกล็ดข้าวโพด

เลมอน ชิกเกน โรล (Lemon Chicken Roll)
เลมอน ชิกเกน โรล รสชาติเปรี้ยวนิด ๆ หวานหน่อย ๆ กลมกล่อมกับเลมอนซอสบนเนื้ออกไก่ทอดกรอบ พร้อมผักกาดแก้วสด ๆ และแป้งเนื้อนุ่มที่ให้ความอร่อยใหม่ไม่ซ้ำใคร


แมคเฟลอร์รี่ คอร์นเนตโต คิวปิดเบอร์รี Mc Flurry Cornetto “Cupid Berry”)
แมคเฟลอร์รี่รสชาติใหม่ที่ผสานความหวานลงตัวของไอศกรีมเนื้อนุ่มผสมสตรอเบอร์รี่ซอส ปั่นรวมกับสตอร์เบอร์รี่ชิปและคุกกี้สตอร์เบอร์รี่กรุบกรอบ

วันเสาร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551

ธนาคารออมสิน



ธนาคารออมสิน มั่นคง จริงใจ รับใช้สังคม

^^"


พระมหากษัตริย์ผู้ทรงต่อตั้งธนาคารออมสิน


"แบงค์ลีฟอเทีย” ต้นแบบการออม
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 6 ทรงเห็นคุณประโยชน์ของการ
ออมทรัพย์ เพื่อให้ประชาชนรู้จักการประหยัด
การเก็บออม มีสถานที่เก็บรักษาทรัพย์สิน
เงินทองของประชาชน ให้ปลอดภัยจากโจร
ผู้ร้าย จึงทรงริเริ่มจัดตั้งคลังออมสินทดลองขึ้น
โดยทรงพระราชทานนามแบงค์ว่า “ลีฟอเทีย”
ในปี พ.ศ. 2450 เพื่อทรงใช้ศึกษาและสำรวจ
นิสัยคนไทยในการออมเบื้องต้น พระองค์ทรง
เข้าใจในราษฎรของพระองค์และทรงทราบดีว่า
ควรใช้กุศโลบายใดอันจะจูงใจคนไทยให้มองเห็น
ความสำคัญของการออม




กำเนิดธนาคารออมสิน
ยุคที่ 1 คลังออมสิน สังกัดกรมพระคลังมหาสมบัติ
กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ พ.ศ. 2456 – 2471
เพื่อให้คลังออมสินได้เป็นประโยชน์เกื้อกูลเผื่อแผ่
ไปถึงราษฎรโดยทั่วกัน พระองค์จึงได้ทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ ให้ดำเนินการจัดตั้ง “คลังออมสิน” ขึ้น
ในสังกัดกรมพระคลังมหาสมบัติ กระทรวงพระคลัง
มหาสมบัติ และพระราชทานพระบรมราชานุญาต
ประกาศใช้ “พระราชบัญญัติคลังออมสิน พ.ศ. 2456”
ประกาศใช้ในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2456

เติบโตอย่างรุดหน้า
ยุคที่ 2 กองคลังออมสิน สังกัดกรมไปรษณีย์โทรเลข กระทรวงพาณิชย์และคมนาคม พ.ศ. 2472 - 2489
ต่อมาในปี พ.ศ. 2472 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ทรงมีพระราชดำริเห็นควรโอกิจการ
คลังออมสินให้้ไปอยู่ในความรับผิดชอบของกรมไปรษณีย์โทรเลข กิจการได้เริ่มแพร่หลายและเป็นที่นิยมของ ประชาชนอย่างกว้างขวาง ซึ่งนับได้ว่ากิจการคลังออมสินในช่วงระยะนี้เติบโตขึ้นมาก จึงเรียกได้ว่าเป็น
“ยุคแห่งความก้าวหน้าของการคลังออมสินแห่งประเทศไทย”




รากฐานความมั่นคง
ยุคที่ 3 ธนาคารออมสิน สังกัดกระทรวงการคลัง พ.ศ. 2490 – ปัจจุบัน
ต่อมาภายหลังเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง รัฐบาลได้เห็นถึงคุณประโยชน์ของการออมทรัพย์และความสำคัญ
ของคลังออมสินที่มีต่อการพัฒนาประเทศ จึงได้ยกฐานะของคลังออมสินขึ้นเป็นองค์การของรัฐ มีฐานะเป็นนิติบุคคล ดำเนินธุรกิจภายใต้ “พระราชบัญญัติธนาคารออมสิน พ.ศ. 2489” มีการบริหารงานโดยอิสระ ภายใต้การควบคุมของ คณะกรรมการ ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจาก รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลัง เริ่มดำเนินธุรกิจในรูปธนาคารออมสินตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2490 และคำว่า “คลังออมสิน” ก็ได้เปลี่ยนเป็นคำว่า “ธนาคารออมสิน” นับแต่บัดนั้นเป็นต้นมา




โฉมใหม่สู่ความทันสมัยครบวงจร
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ธนาคารออมสินได้เปลี่ยนแปลงปรับปรุงพัฒนาระบบการดำเนินงานและการบริการ ในทุกด้านอย่างเป็นพลวัตร ธนาคารจึงได้ปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ เพื่อรักษาฐานลูกค้ามากกว่า 26 ล้านบัญชี โดยระดมทรัพยากรในทุกด้านเตรียมการเพื่อปรับปรุงภาพลักษณ์และรูปแบบการให้บริการที่ทันสมัยและครบวงจร ยิ่งขึ้น เพื่อรองรับการให้บริการที่สอดคล้องต่อความต้องการและครอบคลุมทุกกลุ่ม ทุกอาชีพ และทุกช่วงวัย
ปัจจุบันธนาคารออมสินมีฐานะเป็นนิติบุคคล เป็นรัฐวิสาหกิจ ในรูปของสถาบันการเงินที่มีรัฐบาลเป็นประกัน อยู่ภายใต้ การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง มีสาขา 594 สาขาทั่วประเทศ มีอายุครบ 94 ปี เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2550 ที่ผ่านมาี้

วันอาทิตย์ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2551

Coca-Cola



Le Coca-Cola est une marque commerciale déposée en 1893 d'un soda (boisson gazeuse sucrée), née aux États-Unis. La forme de la bouteille elle-même a été déposée en 1960. Le Coca-Cola est un des symboles forts des États-Unis dans le monde depuis la fin de la Seconde Guerre mondiale.

Il tire son nom de sa première composition : la feuille de coca et l'utilisation de noix de cola, la boisson était alors vendue par son inventeur le docteur Pemberton, comme remède miraculeux (elle n'était pas encore dans la mythique bouteille).

Ses principaux concurrents sur le marché mondial sont les sodas au cola des mutltinationales Pepsi-Cola et Virgin Cola, et il existe de nombreux autres concurrents locaux selon les pays ou en produits libres dans les chaines de supermarchés, hypermarchés et superettes. D'autres colas sont fabriqués sur la base de la recette OpenCola, sous licence GPL[1]. On trouve aussi des altercolas


Historique
La Coca-Cola Company est devenue une entreprise dès 1892.

Le Coca-Cola a été inventé par John Pemberton en 1886. Il est possible qu'il se soit inspiré de la recette du vin Mariani, un mélange de vin de Bordeaux et de feuille de coca créé par le chimiste français d'origine corse Angelo Mariani en 1863. Les premières ventes ont lieu à Atlanta le 8 mai 1886. Les huit premiers mois, une moyenne de treize verres vendus par jour est atteinte.

En 1887, le produit est racheté à Pemberton pour 2 300 dollars par l'homme d'affaire Asa Griggs Candler qui, à l'aide d'une campagne marketing intense va donner son essor à la boisson.

Le Coca-Cola est également défini par la célèbre « bouteille à contours », créée en 1915 par Alex Samuelson. Cependant, la bouteille à contours avec l'imprimé « Coca-Cola » n'est reconnue comme une propre marque commerciale par l'Office américain des brevets qu'en 1960.

La boisson et ses campagnes publicitaires ont eu un impact significatif sur la culture américaine. On dit souvent que la société a créé l'image moderne du Père Noël sous les traits d'un vieil homme habillé en rouge et blanc, autrefois vert plutôt que rouge. Toutefois, si les campagnes publicitaires d'hiver dans les années 1930 ont repris cette image, le personnage était déjà connu auparavant[2]. Les campagnes publicitaires montrant des pin-up ont aussi beaucoup alimenté l'imagerie américaine grâce à des contributions d'artistes tels que Bradshaw Crandell ou Gil Elvgren.

D'autre part, Coca-Cola a compris très tôt les retombées médiatiques qu'elle pouvait tirer des événements sportifs. Elle est présente sur les jeux Olympiques depuis les jeux Olympiques d'été de 1928[réf. nécessaire] (dont ceux de 1936 organisés par le IIIe Reich). Cette qualité de partenaire historique du mouvement olympique n'est sans doute pas innocente dans le choix de la ville d'Atlanta pour l'organisation des jeux Olympiques d'été de 1996. Coca-Cola est aujourd'hui partenaire des principaux événements sportifs (Jeux Olympiques, Coupe du monde de football, Tour de France...)

Dans les années 1980, Coca-Cola annonce modifier définitivement la formule utilisée pour la fabrication de sa boisson. L'origine de cette décision serait des tests en aveugle montrant que les gens préfèrent la boisson concurrente Pepsi. Le Pepsi utilise plus d'essence de citron, moins d'essence d'orange et la vanilline à la place de la vanille[réf. nécessaire]. Le nouveau Coca-Cola, nommé New Coke aux États-Unis, est testé en aveugle et se trouve préféré à la recette originelle.[3]

Malgré ces tests concluants et une très grosse campagne publicitaire, la nouvelle recette est un fiasco commercial. Le 10 juillet 1985, la société se voit forcée de revenir sur ses pas et relance l'ancienne formule sous le nom de Coca-Cola Classic (en fait, le Classic utilise du sucre de maïs au lieu du sucre de canne du Coca-Cola d'origine, mais cela ne doit pas en principe intervenir sur le goût du produit). Le résultat a été surprenant : les ventes totales des deux Coca-Cola ont été plus fortes après cette recommercialisation.

Parce qu'une stratégie d'évolution de la formule du produit étalée sur le temps aurait probablement été plus efficace, certains suspectent que la société a volontairement orchestré ces changements abrupts afin de présenter un nouveau produit qui revivifierait l'attrait pour la ligne classique. Le président de la Compagnie répondra : « Nous n'étions ni assez intelligents ni assez stupides pour cela ».

วันพฤหัสบดีที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2551

Pirate



Le mot pirate vient du mot grec πειρατης qui vient à son tour du verbe πειραω signifiant « s'efforcer de », « essayer de », « tenter sa chance à l'aventure ».

Un pirate est une personne qui pratique la piraterie. La piraterie est la pratique, aussi vieille que la navigation, qui a pour objet l'attaque d'une embarcation dans le but de voler son chargement, et parfois le bateau tout entier. Cependant, les pirates ne se limitaient pas seulement aux autres bateaux mais parfois attaquaient des petites villes côtières. Le mot « pirate » est rattaché aux actions en mer sans l'aval d'une nation souveraine, contrairement aux corsaires, capitaines d'embarcation privée travaillant pour le compte d'une nation ou d'une personne importante dans la société. La piraterie maritime connut son apogée durant le XVIIIe siècle puis a peu à peu disparu, dû au pouvoir grandissant des nations sur toutes les régions du monde. Beaucoup d'anarchistes se sont inspiré de la philosophie des pirates qui consistait à s'exiler de toute nation afin de mener une vie plus libre.

Malgré son origine maritime, le mot pirate est mentionné dans des contextes différents, tels que les « pirates de la route », que l'on appelait autrefois « voleurs de grand chemin ».

Par glissement sémantique, un pirate informatique désigne un individu s'adonnant à des détournements de fonds effectués par Internet, ou des copies d'œuvres sans respecter le droit d'auteur ou le copyright. Il en existe d'autres formes plus crapuleuses comme l'hameçonnage, qui consiste à usurper une identité, le plus souvent corporative.

On parle parfois de pirates dans le cas d'actes politiques et terroristes : c'est le cas des pirates de l'air. Toutefois, il s'agit ici d'une déformation du sens de pirate : l'absence de l'intérêt lucratif d'une action terroriste fait que l'on ne peut pas réellement lier ces malfaiteurs aux véritables pirates.

Historique de la piraterie maritime
La piraterie est un corollaire du commerce maritime et existait déjà dans l'Antiquité. Toutes les civilisations anciennes ayant possédé une marine l'ont pratiquée, les Phéniciens comme les Mycéniens.

Jules César eut lui-même à pâtir de l'activité des pirates. Lors d'un voyage vers l'Orient entre les années 75 av. J.-C. et 74 av. J.-C., il fut capturé par ceux-ci, à hauteur de l'île de Pharmacuse, à proximité de la ville de Milet en Asie Mineure. Dès sa libération contre rançon, il entreprit de se venger. Après avoir réuni en toute hâte une flottille, il surprit et captura les pirates qu'il fit exécuter par la suite. Pompée se rendit célèbre en nettoyant la Méditerranée des pirates ciliciens.

Organisation sociale
Les pirates des siècles passés sont imaginés menant une vie romantique de rebelles intelligents et rusés, agissant en groupe en dehors de la vie régie par les lois et les obligations, telle que nous la connaissons aujourd'hui. En réalité, peu de pirates mangeaient à leur faim ou devenaient riches, la plupart sont morts jeunes, car les provisions emportées étaient infestées de rats et d'autres petites bêtes.

Toutefois, certains aspects de l'organisation des pirates sont surprenants. Contrairement aux sociétés occidentales de l'époque, de nombreux clans de pirates fonctionnaient comme des démocraties limitées : on élisait et remplaçait les dirigeants, par exemple. Le capitaine d'un bateau pirate était souvent un combattant féroce en qui l'équipage avait confiance, plutôt qu'un chef autoritaire issu d'une élite aristocratique. C'était souvent le maître de timonerie, surnommé « le second » ou « le bosco », qui était responsable de l'équipage et qui était chargé de faire régner l'ordre jour après jour, sauf pendant les batailles où c'est le capitaine qui donnait les ordres.

De nombreux groupes de pirates partageaient tout le butin qu'ils obtenaient, en suivant un schéma plutôt compliqué dans lequel chaque homme recevait la part qui lui était réservée. Les pirates blessés au cours d'une bataille recevaient même parfois une prime spéciale. De plus, plusieurs ouvrages relatent le rapport de force très juste entre le capitaine d'un navire et les autres lors d'une victoire. En effet, le butin était partagé de manière à ce que le capitaine reçoive autant que les autres, tout au plus 1,5 fois ou deux fois plus que les autres, mais jamais plus[1].

Les pirates avaient choisi d'être bannis des sociétés traditionnelles, notamment parce que la vie de marin était particulièrement pénible, dangereuse et que la discipline à bord était particulièrement dure. Nombres de marins n'avaient pas réellement choisi ce métier, soit qu'ils aient été vendus comme mousses à un capitaine, ou qu'ils aient été enrôlés de force par la presse, un système largement employé par les Britanniques. Il arrivait souvent qu'ils libèrent des esclaves trouvés dans les navires capturés, les incorporant à leur équipage ou les déposant à terre.

Cependant, ces pratiques égalitaires ne se limitaient qu'à très peu des aspects de la vie des pirates, et n'atténuaient pas réellement la rudesse de leur mode de vie.


Stéréotypes sur les pirates
Le pirate est souvent dépeint avec une balafre au visage, borgne avec un cache sur l'œil, et amputé d'une main, remplacée par un crochet. Il a aussi souvent perdu une jambe à cause de la gangrène ou d'un boulet, et s'appuie alors sur une jambe de bois.
Tout au début, chaque bateau de pirates avait son propre drapeau, et les victimes ne savaient pas ce que cela voulait dire. Peu à peu, les drapeaux sont devenus généraux et ils avaient chacun une signification différente.
Les pirates utilisent un drapeau noir représentant des ossements humains (comme le Jolly Roger et ses dérivés), car ils sont réputés pour ne pas faire de prisonniers.
Les pirates cachent leur trésor sur une île et ils marquent son emplacement sur une carte au trésor.
Les pirates sont souvent accompagnés d'un perroquet.
Le capitaine est un homme avare, cruel et méchant qui rafle la majorité du butin.

วันอังคารที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2551

Crayon Shin-chan


Crayon Shin-chan (クレヨンしんちゃん, Kureyon Shinchan?) is a Japanese manga and anime series written by Yoshito Usui. The title is commonly transliterated as either "Crayon Shin Chan" or "Crayon Shin-Chan" and is sold worldwide. The series follows the antics of five-year-old Shinnosuke Nohara and his parents, neighbors, friends, etc., and is set in Kasukabe, Saitama Prefecture, Japan. It is called "Crayon Shin-chan" because "crayon" signifies the fact that Shin-chan goes to kindergarten. "Shin-chan" is the affectionate name for the main character.

Crayon Shin-chan first appeared in a Japanese weekly magazine called Weekly Manga Action, which is published by Futabasha. Crayon Shin-chan began broadcasting on TV Asahi on April 13, 1992, and has also been aired by the anime television network, Animax across Japan, Hungama TV in India, and in Latin America.

Much of the humor in the series stems from Shin-chan's occasionally weird, unnatural and inappropriate use of language, as well as from his inappropriate behavior. Therefore much of this humor is untranslatable for Western readers and viewers, and a few jokes can't even be translated into other East Asian languages. In Japanese, certain set phrases almost always accompany certain actions; many of these phrases have standard responses. A typical gag involves Shin-chan confounding his parents by using the wrong phrase for the occasion; for example, saying "welcome home!" when he arrives instead of "I'm home!".

During the beginning of the series, the TV show was mostly based on the storyline in the comic books. As the show progressed, more and more episodes became anime-original.

Shin-chan in other countries
Crayon Shin-chan is also very popular in many other countries, especially East Asian countries where many of the jokes can be translated (that is, if they aren't censored).

In China, the show and title La Bi Xiao Xin (traditional Chinese: 蠟筆小新; simplified Chinese: 蜡笔小新; pinyin: làbǐ xiǎoxīn) can be viewed on local channels mostly uncensored and well translated. Despite the fact that legal DVD sets and comics are published, most manga/videos bought in China are counterfeits as with Shinchan merchandise. Shinchan merchandise are especially popular among teenagers who often have them as accessories. (eg. cell phone straps) His visage can also be seen next to Doraemon, Garfield, Pokemon and Disney characters in video and toy stores.

In Taiwan, the publisher of Crayon Shin-chan is Tong Li Comics. A Chinese subtitled version of Crayon Shin-chan in Japanese premiered in Taiwan on ETTV on April 13, 1992

In Vietnam, the series' first 5 books were released in July - August 2006. However, Crayon Shinchan received very bad reaction from the Vietnamese society due to some impertinent scenes contained within the books especially for sexual-related stories (starting from The Workers Newspaper)[1]. Even, VTV (one of the two nationwide broadcasting systems) gave really negative criticism on the series in its main news program. As a result, Kim Dong publisher (distributor of Shinchan's stories in Vietnam) must stop releasing the series. [2]

In South Korea, the show and comics, titled 짱구는 못말려 (Jjanggu the Unstoppable, literally), are also tremendously popular. Shin-chan's name is changed into "Shin Jjanggu"(신짱구), which is coined by his original Japanese name and the Korean word "jjanggu"(짱구) for "protruding forehead." In Korea, the animated version is severely censored - compared to the original Japanese version. Most children in South Korean consider it a kids' cartoon, since many toys and website games there center around 짱구 and is represented as an icon for childish fun there. Scenes revealing Shin-Chan's genitals are mostly censored, with exception to few scenes in which exposure is inevitable, and only few scenes with his buttocks shown remain. Some episodes explicitly displaying adult material are all censored, and all mature-themed jokes in the original Japanese version are dubbed into rated-G jokes in Korean to make the series more suitable for children, who were considered the main audience for the show in Korea. However, the comic book version is mostly uncensored, labeled as "for 19 or above."

Shin-chan is one of the most popular anime characters in Indonesia. The Indonesian actor who dubbed Shin-chan's voice (a man aged about twenty but looks like a 12 year old because of a genetic defect) has released multiple records and is even said to resemble Shin-chan. The anime itself was extremely popular yet controversial. It is the first animated show to have a BO (an Indonesian equivalent to the United States rating "PG"). All the dubbers of the anime found success thanks to the show.

Shin-chan found a devoted following in Spain, where the show is broadcast through Cartoon Network, Antena 3 and several autonomic channels in five different languages: Valenciano, Catalan, Euskara, Galician and Castilian/Spanish. It has proved so successful that several Shin-chan movies have seen a theatrical release nationwide. Also, Spain is the only country outside Japan where a Game Boy Advance game [3] based in the character was released (in 2005 by publisher Atari), with a sequel to follow in Q3 2006 [4]. Despite its success, some TV channels had to move the show to night programming or drop it completely after complaints by parents associations who claimed Shin-chan was not appropriate for children, the biggest followers of the show. Yoshito Usui visited Barcelona in 2004 in order to promote the Spanish release of the manga, when the show was already airing on Catalonia's public television channel TV3. Usui was so impressed by Shin-Chan's popularity he decided to thank his Spanish followers [5] by making an episode that takes place in Barcelona.

Shin-chan is also very popular in the Netherlands, on JETIX. His name is spelled: Shin Chan.

In Malaysia, Shin Chan's comic is titled as Dik Cerdas, which roughly means "brilliant kid". Shin Chan's voice in the Malay language version of the anime happens to be voiced by a 15-year-old. Like in South Korea, pictures revealing Shin-Chan's genitals were all censored by cutting the scenes. Mandarin versions however, are not as heavily censored. They are rarer, however and can only be found in places with high Chinese speaking populations.

This show was broadcast in the Philippines, uncensored and dubbed in Filipino. Shin-Chan was voiced by Andrew E., a local rapper notorious for his suggestive lyrics. For some reason, his mother was called "Carmen",his father was called "Bert" and his dog was named "Puti" which means white.

In Latin America, Shin-chan was originally shown on Fox Kids / JETIX in 2003, but was later moved to a new channel at the time, Animax, in mid 2005. There the episodes are shown weekdays, 3 to 4 times a day, and are dubbed over the English edited versions of the anime.

In India Shin Chan is aired on Hungama TV. Shin Chan is growing its fame rapidly in India. Bō is renamed to Suzuki for some reason. For promoting other shows on Hungama TV, the show parodies other shows like Doraemon, which airs just before Crayon Shin-chan. Because it is dubbed in Hindi, the Japanese songs are changed into popular Bollywood numbers. Hungama TV has started airing new episodes from 21st April.

วันอาทิตย์ที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2551

Ganesh


Dans l’hindouisme, Ganesha, Ganesh souvent appelé Ganapati dans le sud de l’Inde - « le seigneur des troupes de divinités » ou mieux « le seigneur des catégories » - est le dieu de la sagesse, de l’intelligence, de l’éducation et de la prudence, le patron des écoles et des travailleurs du savoir. C’est le dieu qui lève les obstacles. Il est le fils de Shiva et Pârvatî, l’époux de Siddhî, le succès et de Riddhî, la richesse. Il joue un rôle important dans le tantrisme.

Représentation ou mûrti
Traditionnellement représenté avec un corps de gros homme de couleur rouge possédant généralement quatre bras et une tête d’éléphant à une seule défense, son vâhana ou véhicule est un rat ou une souris, Mûshika. Ce dernier symbolise parfois le dieu à lui seul, comme peut le faire Nandi pour son père. Les deux se complètent, l’éléphant massif, puissant et réfléchi, le rat petit, mobile et malicieux, ont ainsi tous les atouts nécessaires pour résoudre les problèmes du monde.

Les attributs les plus fréquents de Ganesh sont :

la hache (parashu), arme classique de Shiva, détruit désir et attachement, et donc supprime agitation et chagrin.
Le nœud coulant ('pasha) qui sert à capturer l’erreur.
L’aiguillon à éléphant (ankusha) symbole de sa maîtrise sur le monde.
La défense cassée connaît plusieurs interprétations. Un mythe raconte que Ganesh l’utilisa pour écrire les Veda ou le Mahâbhârata sous la dictée de Vyasa. C’est la raison pour laquelle on appelle aussi Ganesh Ekadanta (de ek, une et danta, dent), celui qui n’a qu’une défense.
La mâlâ, une guirlande ou un chapelet comportant 50 éléments, les 50 lettres de l’alphabet sanskrit
Le gâteau (modaka) ou le bol de friandises (modaka-patra), la douceur qui récompense le chercheur de vérité.
Dans le sud de l’Inde et au Sri Lanka, Ganesh tient parfois un fruit dans sa main, une mangue ou un citron. On connaît, particulièrement au Népal, des représentations de Ganesh à plus de quatre bras et plus d’une tête, souvent reliées au tantrisme.

Ganesh est la plus souvent assis, sur un trône de lotus, la jambe gauche repliée, la jambe droite pendante, dans une posture décontractée. Mais il peut être représenté dansant : n’oublions pas que son père Shiva est Nataraja, le roi de la danse. On le trouve aussi parfois allongé sur un sofa, un livre ouvert devant lui.

Symbolisme
Ganapati est un des symboles de l’identité entre le macrocosme et le microcosme, entre le divin et l’humain. Cette symbolique se retrouve dans les tailles respectives de Ganesh, l’éléphant, le plus grand animal terrestre et son vâhana, la souris, un très petit mammifère.

Dans sa représentation, la partie inférieure est la partie humaine et la partie supérieure, la tête, est la partie éléphantine et divine. Il est un homme mais son esprit est à l’image du cosmos, il peut donc, par la puissance de la pensée, écarter les obstacles de l’ignorance et comprendre la nature de l’Univers.Il porte parfois un cobra royal en cordon ou sous forme de ceinture. Quand il est porté sur la tête, c'est un symbole de protection.

Genèse
Les histoires qui expliquent comment Ganesh obtient sa tête sont nombreuses et diverses. Souvent dérivées du Shiva Purâna, elles racontent que Shiva, rentrant d’une longue période de méditation dans l’Himalaya, trouva un jeune homme barrant la porte de sa maison pour l’empêcher d’entrer tandis que Pârvatî prenait son bain. Le jeune homme était le fils que la
(demi-)déesse s’était conçu, au moyen de la poussière et des onguents qu’elle avait raclé de sur sa peau, pour lui tenir compagnie durant sa solitude. Furieux de se voir interdire l’entrée de sa maison, Shiva sortit son épée et coupa la tête de son « fils » qui roula au loin et devint introuvable.

S’apercevant de cela, Pârvatî lui raconta toute l’histoire et, inconsolable, exigea qu’il redonne vie à son fils sur le champ. Shiva promit qu’il remplacerait la tête par celle de la première créature qui se présenterait. Un éléphant passa... Par cet acte, et bien que Ganesh ait été conçu sans lui, Shiva assume sa paternité. Cet épisode aurait, selon certains, une symbolique très précise : le fait qu'il faille "trancher la tête" pour accéder à la "Shakti", représentée par Parvati, c'est-à-dire que l'intellect doit se retirer pour contacter l'énergie divine.

Selon une légende tamoule de Kânchîpuram, la tête d’éléphant serait due au fait que lors des ébats ayant conduit à la conception de l’enfant divin, Shiva et Uma (Pârvatî) avaient adopté la forme d’un couple d’éléphants.

Dans une autre histoire, Pârvatî présenta leur fils à Shiva qui ouvrit son troisième œil et transforma sa tête en cendres. Brahmâ demanda alors de remplacer cette tête et comme un éléphant vint à passer...

Pour ce qui est de la défense cassée, on raconte qu’une nuit Ganesh tomba de son rat et se cassa une défense. En voyant cela la lune éclata de rire. Ganesh lui lança alors la défense brisée, et depuis ce jour lors des processions en l’honneur de Ganesh on évite de regarder la Lune.