วันศุกร์ที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2552

Nouvel An chinois


Le Nouvel An chinois ou Nouvel An du calendrier chinois (sinogrammes traditionnels : 農曆新年 ; sinogrammes simplifiés : 农历新年 ; hanyu pinyin : nónglì xīnnián) ou « passage de l’année » (traditionnels : 過年 ; simplifiés : 过年 ; pinyin : guònián) est le premier jour du premier mois du calendrier chinois. C'est le début de la fête du printemps (traditionnels : 春節 ; simplifiés : 春节 ; pinyin : chūnjié) qui se déroule sur quinze jours et s’achève avec la fête des lanternes (traditionnels : 元宵節 ; simplifiés : 元宵节 ; pinyin : yuánxiāojié).

Le calendrier chinois étant un calendrier luni-solaire, la date du Nouvel An chinois dans le calendrier grégorien varie d'une année sur l'autre, mais tombe toujours entre le 21 janvier et le 20 février. C’est, comme tous les commencements de mois lunaires chinois, le premier jour d'une nouvelle Lune. Par convention, l'alignement astronomique qui signale la nouvelle Lune est déterminé à l’observatoire de la Montagne Pourpre à Nankin.

Le Nouvel An est célébré officiellement en Chine (sept jours de congés) et à Taïwan (cinq jours), à Hong Kong et Macao (trois jours), ainsi que dans certains pays d’Asie où l’influence de la culture chinoise est importante, ou dont la population comprend une forte minorité de Chinois ethniques : Singapour et Malaisie (deux jours), Brunei et Indonésie (un jour), Viêt Nam (fête du Têt, trois jours, avec un jour de décalage avec la Chine tous les 22 ou 23 ans pour compenser le décalage horaire entre Pékin et Hanoï), Corée du Sud (fête de 새해 Saehae, trois jours). Les congés du Nouvel An, qui peuvent être prolongés par un week-end ou un pont, sont une période de migration intense, car nombreux sont ceux qui s’efforcent de rejoindre leur famille, depuis l’étranger parfois : embouteillages sur les routes et encombrements dans les gares et les aéroports sont la règle.

Il est observé individuellement partout dans le monde par les membres de la diaspora chinoise, et parfois également par les Japonais (vieux premier mois 旧正月), les Miao, les Mongols, les Tibétains, les Népalais et les Bhoutanais


Célébrations traditionnelles

Les célébrations, coutumes et tabous de la fête de printemps varient dans les détails selon les régions ou les époques. La pratique générale veut qu'on s'efforce de repartir sur un nouveau pied après s'être débarrassé des mauvaises influences de l’an passé, accompagné de signes de bon augure. On a recours à des objets ou aliments présentant une homophonie avec un mot de sens auspicieux.

Le « passage de l’année » (過年 / 过年 guònián) s’effectue dans la nuit du dernier jour du douzième mois. Le mot signifiant année est considéré comme étant à l’origine le nom d'un monstre, Nian, qui venait autrefois rôder autour des villages une nuit par an, obligeant les habitants à se calfeutrer et à veiller jusqu’à son départ au petit matin. Les célébrations principales comportent un réveillon (年夜飯 / 年夜饭 niányèfàn) comprenant des plats aux noms auspicieux, suivi d’une nuit de veille (守歲 / 守岁 shǒusuì) gage de longévité, que certains occupent à jouer au mahjong, la distribution d’étrennes (壓歲錢 / 压岁钱 yāsuìqián) contenues dans des enveloppes rouges, l’allumage de pétards pour chasser les mauvaises influences

Premier jour de l’an

Si les règlements locaux le permettent, une chaîne de pétards est allumée dès onze heures ou minuit. Le matin, après un court repos, beaucoup se rendent au temple local, puis sur les tombes ancestrales s’ils habitent à proximité. On considère que plus la visite au temple est précoce, plus on aura de chance dans l’année. Il arrive donc que les fidèles se massent devant les grands temples avant l’ouverture des portes pour être le premier à planter sa baguette d’encens dans le brûle-parfum. Dans certaines villes, un temple ouvre à minuit, première heure du premier jour. Certains prennent ce jour au moins un repas végétarien. Les familles qui en avaient les moyens commandaient une danse de lion ou de dragon (qui représente Noblesse, Bravoure et Chance). Dans certaines cités hors de Chine comme Paris, la diaspora chinoise organise une parade ; la tradition en a débuté à San Francisco dans la seconde moitié du XIXe siècle.

La première journée était théoriquement consacrée aux visites, en commençant par les personnes les plus importantes (parents aînés, supérieurs hiérarchiques) ; cette activité s'appelle « saluer l’année » (bàinián 拜年) ; de nos jours le téléphone est largement utilisé. Les familles en deuil sont traditionnellement exemptées de visites pendant une durée variable.

Le jour du Nouvel An, on doit théoriquement porter des vêtements neufs, et beaucoup aiment que du rouge, couleur auspicieuse, y apparaisse. On ne fait pas de ménage, et si l'on doit absolument balayer des détritus tombés à terre, il ne faut pas les déposer à l'extérieur du domicile car cela symboliserait une perte. Certains estiment qu'il est mauvais de faire une grande toilette ce jour-là.

Jours suivants

Le deuxième jour est traditionnellement celui où les femmes mariées rendent visite à leur famille avec enfants et mari.

Dans certaines régions, les visites étaient déconseillées durant le troisième jour car elles étaient censées facilement donner lieu à des altercations (« bouche rouge » chìkǒu 赤口).

Le cinquième jour est en général celui où les commerces rouvrent. À Hong Kong c’est l’anniversaire du Dieu de la richesse. Des pétards sont allumés, et parfois des danses de lions commandées.

Le septième jour était pour certains celui où tout le monde changeait d’âge, les dates de naissances exactes étant autrefois tenues secrètes. D'autres, néanmoins, estiment que l’âge change le premier jour de la nouvelle année.

Le huitième ou neuvième jour — selon les régions — est l’anniversaire du dieu du Ciel (天公 Tiāngōng) assimilé à l’Empereur de jade. Une cérémonie se déroule chez soi ou au temple tard le soir, au début de la nouvelle journée.

Le quinze du premier mois est la dernière journée de la Fête de printemps, marquée par la Fête des lanternes.


วันอาทิตย์ที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2551

โอลิมปิก 2008









โอลิมปิกฤดูร้อน 2008 (จีน: 2008年 夏季奥林匹克运动会, เอ้อร์หลิงหลิงปาเหนียน เซี่ยจี้อ้าวหลินผี่เค่อยวื่นต้งฮุ่ย; อังกฤษ: Games of the XXIX Olympiad) เป็นการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 29 จัดขึ้น ณ กรุงปักกิ่ง ฮ่องกง ชิงเต่า ชิงหวงเต่า เซี่ยงไฮ้ และเสิ่นหยาง สาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันที่ 8 สิงหาคม (การแข่งขันฟุตบอลจัดขึ้นในวันที่ 6 สิงหาคม) ถึง 24 สิงหาคม พ.ศ. 2551 ตามมาด้วยพาราลิมปิกฤดูร้อน 2008 ตั้งแต่วันที่ 6 กันยายน ถึงวันที่ 17 กันยายน การแข่งขันโอลิมปิกครั้งนี้ถือเป็นการแข่งขันครั้งที่สามที่มีเจ้าภาพอยู่ในทวีปเอเชีย (ครั้งที่หนึ่ง ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ในปี พ.ศ. 2507 และครั้งที่สอง ณ กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้ พ.ศ. 2531) โดยพิธีเปิดได้เริ่มขึ้นในเวลา 20 นาฬิกา (8 นาฬิกาตอนกลางคืน) 8 นาทีตามเวลากรุงปักกิ่ง (18 นาฬิกา 8 นาที ตามเวลาแห่งประเทศไทย) โดยเลข 8 นี้เป็นเลขนำโชคของชาวจีนซึ่งเชื่อกันว่าเลข 8 เป็นเลขมงคลมากที่สุด เพราะออกเสียงคล้ายกับคำว่า ฟา (發/发) ที่หมายถึง ร่ำรวย

นายหวัง ฉีซัน นายกเทศมนตรีนครปักกิ่งกล่าวเสริมว่า หากพิธีเปิดงานสามารถดำเนินไปได้ด้วยดี ก็ถือว่าการจัดงานกีฬาโอลิมปิกในครั้งนี้สำเร็จไปกว่าครึ่งแล้ว โดยทางจีนมีความพร้อมอย่างเต็มที่ในการจัดการแข่งขันครั้งนี้ เพื่อแสดงศักยภาพของตนให้ปรากฏแก่ชาวโลก ซึ่งอาจเรียกกีฬาโอลิมปิกครั้งนี้ได้ว่าเป็น "อภิมหาโอลิมปิก" เลยก็ว่าได้

กีฬาโอลิมปิก 2008 เริ่มตั้งแต่วันที่ 8 จนถึงวันที่ 24 สิงหาคม ซึ่งคาดการณ์ว่าจะมีนักท่องเที่ยวต่างชาติกว่า 3 ล้านคน รวมถึงนักกีฬาประมาณ 20,000 คนและผู้สื่อข่าวอีกราว 30,000 ชีวิตเดินทางมาร่วมงานนี้


ปักกิ่งได้รับคัดเลือกให้เป็นเมืองเจ้าภาพจัดมหกรรมกีฬาโอลิมปิกในการประชุมคณะกรรมการโอลิมปิกสากล สมัยที่ 112 ณ กรุงมอสโก สหพันธรัฐรัสเซีย เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2544



สนามกีฬาแห่งชาติปักกิ่ง



ศูนย์กลางการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 อยู่ที่สนามกีฬาแห่งชาติปักกิ่ง ซึ่งมีชื่อเล่นว่า "รังนก" เนื่องจากรูปแบบโครงสร้างที่คล้ายรังนก [3] การสร้างสนามกีฬาเริ่มขึ้นในวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2546 เดิมทีทางการจีนมีแผนที่จะใช้สนามกีฬาแห่งชาติกวางตุ้งเป็นสถานที่แข่งขันโอลิมปิก ดังนั้นสนามกีฬาแห่งนี้จึงถูกสร้างขึ้นและเสร็จในปี พ.ศ. 2544 ทว่าทางการจีนเปลี่ยนการตัดสินใจและสร้างสนามกีฬาแห่งชาติใหม่ในปักกิ่ง[4] ต่อมาทางการจีนเปิดการแข่งขันออกแบบสนามกีฬาแห่งชาติที่จะสร้างขึ้นใหม่ในปักกิ่ง บริษัทสัญชาติสวิส Herzog & de Meuron Architekten AG ในความร่วมมือกับกลุ่มออกแบบและค้นคว้าสถาปัตยกรรมจีนชนะการประกวด โดยสนามกีฬามีลักษณะเป็นโครงคอนกรีตคล้ายตาข่ายและจะสามารถจุผู้คนได้ถึง 90,000 คนในระหว่างการแข่งขันโอลิมปิก โดยเดิมสถาปนิกพรรณาถึงลักษณะการออกแบบที่คล้ายคลึงกับรังนกพร้อมด้วยรูโล่งอันใหญ่โตที่มีเพดานสนามที่หดตัวด้วยเหนือสนามกีฬา อย่างไรก็ตามในปี พ.ศ. 2547 ความคิดที่ให้มีเพดานสนามที่หดตัวได้ถูกยกเลิกไปเพราะเหตุผลทางด้านเศรษฐกิจและความปลอดภัย สนามกีฬาแห่งชาติปักกิ่งจะเป็นสถานที่ที่ทำพิธีเปิดและปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 เช่นเดียวกับเป็นสถานที่แข่งขันกรีฑาและฟุตบอลรอบชิงชนะเลิศ ผู้ออกแบบสนามกีฬา อ้าย เหวยเหว่ย ถอนตัวจากการสนับสนุนจีนสำหรับโอลิมปิก พร้อมให้สัมภาษณ์ว่า "เขาไม่ต้องการที่จะยุ่งเกี่ยวกับเรื่องพรรค์นี้อีกแล้ว"
ขณะที่หมู่บ้านโอลิมปิกปักกิ่งเปิดขึ้นแล้ว ณ วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 และเปิดสำหรับสาธารณชนในวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2551



สัญลักษณ์ประจำโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ถูกเรียกว่า ปักกิ่งร่ายรำ (จีนตัวย่อ: 舞动的北京, ‘Dancing Beijing’) สัญลักษณ์รวมตราสัญลักษณ์จีนดั้งเดิมและตัวละครจากพู่กันจีน จิง (京 ที่แปลว่า "เมืองหลวง" ซึ่งอยู่ในคำว่า "เป่ยจิง" ชื่อปักกิ่งภาษาจีน) ในลักษณะขฑองนักกรีา แขนที่เปิดอ้าของคำว่า จิง มีความหมายเสมือนการเชื้อเชิญจากประเทศจีนไปทั่วโลกในการที่จะแบ่งปันวัฒนธรรมจีน ประธานของ IOC ฌาคส์ รอกก์ ดีใจมากกับสัญลักษณ์ และให้สัมภาษณ์ว่า "สัญลักษณ์ใหม่ของคุณนำพาไปยังความสวยงามที่ดีเยี่ยมและพลังของประเทศจีนซึ่งอยู่ในมรดกและคนของคุณในทันที"

สโลแกนของโอลิมปิก 2008 คือ "One World One Dream" (จีนตัวเต็ม: 同一個世界 同一個夢想; จีนตัวย่อ: 同一个世界 同一个梦想; พินอิน: tóng yīgè shìjiè tóng yīgè mèngxiǎng, ถงอีเก้อซื่อจีเย่ ถงอีเก้อม่งเสี่ยง)[8] แปลว่า หนึ่งโลก หนึ่งความฝัน สโลแกนนี้ถูกเลือกจากการเสนอมากกว่า 210,000 รายการจากทั่วโลก[3] มีความหมายเป็นการเรียกร้องให้ทั้งโลกเข้าร่วมจิตวิญญาณแห่งโอลิมปิกและสร้างอนาคตที่ดีขึ้นเพื่อมวลมนุษยชน

สัญลักษณ์โอลิมปิก 2008สัญลักษณ์ดังกล่าวถูกตั้งชื่อว่า 'ปักกิ่งร่ายรำ'จำลองรูปแบบจากตราประทับจีนโบราณ ซึ่งตราประทับนี้ส่วนพื้นเป็นสีแดง ส่วนอักษรแกะสลักเป็นตัว ‘จิง’ (京) ซึ่งอยู่ในคำว่า เป่ยจิง (ปักกิ่ง) อีกทั้งมีลักษณะคล้ายตัวอักษร "เหวิน" ซึ่งหมายถึงอารยธรรมที่สืบทอดมายาวนานของชนชาติจีน นอกจากนั้น ตัวอักษรที่ปรากฏยังเป็นลักษณะท่าทางของคนที่วิ่งไปข้างหน้าขณะกำลังยินดีที่ได้รับชัยชนะ

ด้านล่างตราประทับเป็นอักษรภาษาอังกฤษที่เขียนจากปลายพู่กันจีน คำว่า ‘Beijing 2008 ’ถัดลงไปเป็นสัญลักษณ์ 5 ห่วงของโอลิมปิก

ภายหลังที่มีการเปิดตัวสัญลักษณ์โอลิมปิก ปักกิ่งร่ายรำ บรรดาผู้ผลิตต่างใช้สัญลักษณ์ดังกล่าวประทับอยู่บนผลิตภัณฑ์ต่างๆ มากมาย เช่น เสื้อยืด หมวก แสตมป์พวกกุญแจ และเหรียญที่ระลึก เป็นต้น ปัจจุบันสินค้าดังกล่าวกลายเป็นสินค้าที่ชาวเมืองปักกิ่งพากันแย่งเป็นเจ้าของ เพราะมีจำหน่ายในกรุงปักกิ่งแห่งเดียวเท่านั้น

วันพฤหัสบดีที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2551

ศุกร์ 13 วันอาถรรพ์


ศุกร์นี้ตรงกับวันที่ 13 พอดีเล้ยย

ความเชื่อที่ว่าถ้าวันศุกร์เกิดไปตรงกับวันที่ 13 ของเดือนใดก็ตามแล้ว จะกลายเป็นวันแห่งความโชคร้ายนั้น เป็นความเชื่อที่อยู่ในบรรดาชาติที่พูดภาษาอังกฤษทั่วโลก และยังขยายไปถึงชาติอื่นๆอีกด้วย และในประเทศบางประเทศอย่าง กรีซ สเปน ถือเอาวันอังคารที่ 13 เป็นวันโชคร้ายเช่นกัน สำหรับโรคกลัววันศุกร์ที่ 13 มีชื่อเรียกว่า Paraskavedekatriaphobia หรือ paraskevidekatriaphobia หรือ friggatriskaidekaphobia ซึ่งเป็นอาการหนึ่งของโรค triskaidekaphobia คือ โรคกลัวหมายเลข 13

จุดเริ่มต้นความเชื่อเรื่องศุกร์ 13 นั้น เชื่อมโยงกับความเชื่อที่ว่ามีคน 13 คนร่วมทานอาหารมื้อสุดท้ายกับพระเยซู (The Last Supper) ก่อนที่พระองค์จะถูกนำตัวไปตรึงบนไม้กางเขนในวันศุกร์ประเสริฐ (Good Friday) กระนั้น ไม่มีหลักฐานใดที่บ่งชี้ว่า ประชาชนถือเอาว่าวันศุกร์ที่ 13 เป็นวันโชคร้ายจนเมื่อมาถึงศตวรรษที่ 19 อย่างไรก็ตาม หมายเลข 13 มีประวัติว่ามีความเกี่ยวข้องกับเรื่องโชคร้ายมายาวนาน เนื่องจาก ตามปฏิทินจันทรสุริยคติแล้ว ในบางปีต้องมีเดือน 13 เดือน ขณะที่ตามปฏิทินเกรกอเรียนและปฏิทินของศาสนาอิสลามจะมี 12 เดือนเสมอ

ขณะที่บ้างก็ว่า ความเชื่อนี้มีจุดเริ่มต้นมาจากความเชื่อและตำนานของชาวนอร์สในดินแดนสแกนดิเนเวียที่เรียกว่า Norse myth เกี่ยวกับเทพ 12 องค์ มารวมกันจัดงานเลี้ยงในห้องโถงของเอกีร์ เทพแห่งมหาสมุทร แต่แล้วเทพแห่งไฟที่ชื่อ โลกิ ซึ่งไม่ได้รับเชิญมาร่วมงานจึงพังประตูรั้วเข้ามาร่วมงานในฐานะแขกคนที่ 13 และยังให้เทพฮอดซึ่งเป็นเทพแห่งความมืดมิดซึ่งตาบอดโยนกิ่งของพืชกาฝากใส่ บาลเดอร์ เทพแห่งความสุขและความยินดี จนบาลเดอร์สิ้นลมหายใจไปในทันที ทำให้โลกต้องตกอยู่ในความมืดมิดและความเศร้าสลด

กระนั้น ความเชื่อนี้มีผู้แย้งว่าเป็นไปไม่ได้ เนื่องจากข้อความในบทกวีโลกาเซนนาที่เป็นภาษาโอลด์นอร์สได้มีการกล่าวถึงชื่อเทพ 17 องค์ที่ไปร่วมงานเลี้ยงดังกล่าว ซึ่งระบุว่าเทพโลกิเป็นผู้พังประตูรั้วเข้าไปจริง แต่ว่าเขาไม่ใช่คนที่ 13 และยังไม่มีความเชื่อมโยงระหว่างบทดังกล่าวกับการถึงจุดจบของเทพบาลเดอร์อีกด้วย

ด้วยเหตุนี้ คำอธิบายในข้อแรกจึงดูมีความเชื่อมโยงกับเรื่องความโชคร้ายของเลข 13 ที่เก่าแก่ที่สุดในอังกฤษ ซึ่งมีการบันทึกเอาไว้ในศตวรรษที่ 18 โดยเชื่อกันว่า เมื่อไหร่ก็ตามที่คน 13 คนมานั่งทานอาหารร่วมโต๊ะเดียวกันแล้ว คนที่ลุกจากโต๊ะไปเป็นคนแรกจะเป็นคนแรกที่ต้องตาย

อีกทฤษฏีที่กล่าวถึงวันศุกร์ที่ 13 ระบุว่า วันศุกร์ที่ 13 ตุลาคม 1307 เป็นวันที่พระเจ้าฟิลิปที่ 4 แห่งฝรั่งเศส ทำการจับกุมตัวบรรดาอัศวินเทมพลาร์ชาวฝรั่งเศสจำนวนหลายร้อยคนไป ก่อนจะนำตัวไปทรมานและสังหาร เพื่อนำทรัพย์สินของพวกเขามาเป็นของฝรั่งเศส

ทั้งนี้ เรื่องที่น่าแปลกเกี่ยวกับวันศุกร์ที่ 13 คือ มีหลักฐานที่ยืนยันว่า วันศุกร์ที่ 13 เป็นวันโชคร้ายสำหรับใครบางคนจริงๆ โดยนักจิตวิทยาพบว่า ในบางคนจะมีโอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุหรือล้มป่วยในวันศุกร์ที่ 13 ซึ่งมีการให้เหตุผลเอาไว้ว่าเป็นเพราะบางคนรู้สึกวิตกจริตเป็นอย่างมากในวันศุกร์ที่ 13 โดยทางศูนย์จัดการความเครียดและสถาบันอาบำบัดการกลัวในเมืองแอชวิลล์ มลรัฐนอร์ทแคโรไลนา ประเมินว่าในแต่ละครั้งที่มีวันศุกร์ที่ 13 สหรัฐอเมริกาต้องสูญเสียทางเศรษฐกิจเป็นเงิน 800 900 ล้านเหรียญสหรัฐฯทีเดียว เพราะว่าประชาชนบางคนไม่กล้าเดินทางไปไหนและไม่กล้าแม้แต่จะไปทำงาน

วันอาทิตย์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2551

Blythe


A BRIEF HISTORY OF BLYTHE AND HER REINCARNATION


Manufactured by Kenner in 1972, the original Blythe was designed by Marvin Glass & Associates, one of the world's foremost toy design studios. When the Toy Industry Hall of Fame was established in 1984, Marvin Glass was in the first group inducted (which coincidently also included Merrrill L. Hassenfeld of Hasbro, Inc.), ten years after his death. Kenner was bought out by Tonka Toys, which in turn was bought out by Hasbro in the mid-1980s. And that is how Hasbro has come to own the Blythe property.



In 1972, children found the large eyes that changed from green to pink to blue to orange with the pull of the drawstring at the back of Blythe's head a bit on the scary side. Blythe was produced for only one year, but it is now apparent that she was ahead of her time. For many years, Blythe was a curiosity that only doll collectors were interested in. Then in 1997, a friend introduced Gina Garan to Blythe, thinking that Gina looked like the doll. Gina had just been given an old camera and she needed to test it. Her first photos using that camera were of Blythe. Gina, who works as a video and TV producer, started carrying at least one of her Blythes wherever she went on her travels around the world and took many photos.

In December 1999, at the opening of an exhibition for the CWC International artists in Soho, New York, Gina showed her photos to Junko Wong. Junko took these photos to Parco and made a presentation for an exhibition and as a "virtual model" for Parco's innovative sales promotions. In the summer of 2000, This is Blythe, photos by Gina Garan, was published by Chronicle Books. The Christmas 2000 Parco campaign featured Blythe in a TV commercial and print media and Blythe took off in Japan. On eBay, vintage Blythes jumped in price from $35 to $350. Blythe continued as Parco's "image girl" through the spring and into the summer of 2001. The price for vintage Blythes jumped to thousands of dollars U.S. on eBay. Even the Neo-Blythes are sold for up to four times their retail price on the Yahoo auction site in Japan.


In June 2001, the first of the Neo-Blythes - produced by CWC and manufactured by Takara - went on the market. The launch of the neo-Blythes was in conjunction with a photo exhibition by Gina Garan. Gina made the trip from New York for the launch and exhibition.

The Parco Limited Edition (1000 dolls), sold out in less than an hour, was followed by the Mondrian, and then Rosie Red, Holly Wood, All Gold In One, Kozy Kape Inspired, Aztec Arrival Inspired, Sunday Best, and in conjunction with the first year anniversary of the neo-Blythes in Japan, Miss Anniversary Blythe. The first year anniversary was marked by a series of Blythe events in Tokyo, which included an exhibition and charity fashion show at the Spiral Hall in Aoyama and exhibitions at the Rocket and CWC Galleries, and at IMS in Fukuoka, Kyushu. The exhibition featured photos by Gina Garan and dolls styled by artists, fashion designers, and Blythe fans. The fashion show featured couture for Blythe by such internationally known designers as: Issey Miyake, Chisato Tsumori, and Hysteric Glamour.

วันจันทร์ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2551

นักเขียนต้องพกสิ่งเหล่านี้ติดตัว















โดยศักยภาพของมนุษย์แล้วไม่มีใครที่จะสามารถจดจำเรื่องราวต่างๆไว้ได้ทั้งหมด เรื่องราวบางเรื่องถ้าเราปล่อยให้มันผ่านไปสักช่วงระยะเวลาหนึ่ง ข้อมูลก็อาจจะถูกลบเลือนไปได้


นักเขียนก็เช่นเดียวกันจ๊ะ ในบางครั้งเมื่อไปพบข้อมูลดีๆ และเกิดแรงบรรดาลใจที่อยากจะเขียนเรื่องราวดังกล่าวนั้น แต่เนื่องจากเวลาหรือสถานที่ไม่เอื้ออำนวยทำให้เขียนไม่ได้ หลายต่อหลายครั้งที่เราปล่อยให้มันผ่านไป พอมีเวลาจะเขียนก็พบว่าเราลืมมันไปซะแล้วพี่นัทเป็นบ่อยเลยล่ะจ๊ะ



1. สมุดบันทึก
สมุดบันทึกเป็นสิ่งจำเป็นนักเขียนมาก ทั้งนี้เพราะการเดินทางย่อม อาจจะต้องพบต้องเห็นสิ่งต่างๆ มากมาย บางทีสิ่งที่พบเห็นนั้นเป็นเรื่องที่นักเขียนเห็นว่าแปลกและน่าสนใจสิ่งที่จะช่วยจำได้เป็นอย่างดีก้คือการจดบรรทึกเรื่องราวดังกล่าวไว้ใช้เป็นข้อมูลสำหรับการเขียน

สมุดบันทึกนี้ บางคนชอบที่จะใช้สมุดบันทึกเล่มโตๆ เพราะเวลาจดสามารถจดได้มากและละเอียดกว่า แต่บางคนก็บอกว่าสมุดบันทึกเล่มใหญ่ พกพาไม่สะดวก จะใช่เล่มเล็กแทนก็ได้

เรื่องสมุดบันทึกจะเล่มเล็กหรือใหญ่ไม่ใช่ประเด็นสำคัญ สิ่งที่สำคัญก็คือเราชอบที่จะใช้บันทึกแบบไหน ขออย่างเดียวว่าขอให้สมุดบันทึกเล่มดังกล่าวนั้นสามารถบันทึกความทรงจำของเราไว้ได้เท่านั้นก็เพียวพอ

น้องๆนักเขียนบางคนไม่ชอบใช้สมุดบันทึก แต่ชอบใช้กระดาษเป็นแผ่นๆ ปัญหาที่จะเกิดตามมาก็คือมันจะหาย วิธีแก้ง่ายๆก็คือ หลังจากที่จดบันทึกแล้วให้รวมรวบตามเรื่องหรือตามหัวข้อที่บันทึกแล้วแมคเย็บรวมเป็นเล่มเดียวกัน แล้วจัดใส่แฟ้มแยกเป็นเรื่องๆไป

วิธีอย่างนี้ก็นับว่าใช้ได้ เวลาเราจะเขียนเมื่ออยากจะเขียนเราก็แค่หยิบแฟ้มขึ้นมาเปิดหาข้อมูลที่เราต้องการเท่านั้นเอง



2. บัตรช่วยจำ
ในบางครั้งผู้เขียนก็มักจะตัดกระดาษแผ่นเล็กๆ เสียบเข้าไปในกระเป๋าพกพาไปไหนมาไหนด้วย เพราะบางครั้งไปพบเห็นข้อความหรือได้ฟังคำพุดที่ประทับใจจากใครก็จดเอาไว้ได้ทันที หรือแม้แต่ตอนที่น้องๆเกิดปิ้งไอเดียดีๆ ก็สามารถจดเอาไว้ได้ในตอนนั้นเลย เวลาจะใช้ก็แค่เปิดดูทบทวนวามทรงจำซักนิดความคิดครั้งนั้นก็จะฉายออกมาให้เรารู้ว่าในขณะนั้นเรากำลังคืออะไรอยู่

วิธีแบบนี้ทำให้เรามีสติแล้วยังเป็นการฝึกหัดการใช้ความทรงจำได้ดียิ่งขึ้นอีกด้วยล่ะจ๊ะ


3. เทปบันทึกเสียงขนาดเล็ก
ยุคเทคโนโลยีอย่างนี้ บางครั้งการจดบันทึกในช่วงฉุกละหุกจะไม่ทันการณ์ การนำเทคโนโลยยีมาใช้ให้เป็นประโยชน์ก็ช่วยให้นักเขียนทั้งหลายไม่พลาดลายละเอียดต่างๆ อาจจะใช้เครื่องบันทึกเสียง หรือไม่ก็เครื่องmp3ที่สามารถบันทึกเสียงได้ก็ได้จ๊ะ



4. ปากกา ดินสอ ม้วนเทป ถ่าน
ในกรณีที่ใช้สมุดจกบันทึก บัตรช่วยจำ เทปบันทึกเสียง สิ่งที่ลืมไม่ได้ก็คืออุปกรณ์สำหรับใช่เขียน และอุปกรณ์ที่ใช้กับเครื่องบันทึกเสียง สิ่งเหล่านี้ต้องเตรียมให้พร้อมเพราะบางครั้งบางคราวข้อมูลสำคัญ เกิดขึ้นเพียงแป๊ปเดียวเท่านั้น


5. เทคนิคการบันทึก
การบันทึกข้อมูลที่จะเก็บไว้ใช้เขียนหนังสือนั้น บางอย่างไม่จำเป็นต้องจดบันทึกโดยละเอียดก็ได้ เพราะการจดบันทึกนี้เป็นการจดบันทึกเพื่อช่วยจำ สำหรับข้อมูลบางอย่างเท่านั้น

ดังนั้นการจดบันทึกจึงต้องอาศัยเทคนิคในการจดดังนี้



5.1 จดประเด็นที่เราไม่เข้าใจ

เรื่องบางเรื่องเป็นเรื่องแปลกใหม่สำหรับเรา อย่างเช่น ภาษาถิ่นที่มีสำเนียง และความหมายที่เราไม่คุ้นเคย แต่ถ้าจะนำมาเขียนเป็นเสน่ห์ของเรื่องก็จดบันทึกกันลืมเอาไว้

5.2 เกร็ดความรู้เสริม

เรื่องราวหลายเรื่องที่จะนำมาเขียนหนังสือนั้น บางทีก็มีตำนานเข้ามาแทรกซึ่งไม่มีหลักฐานอ้างอิง แต่ก็เป็นเรื่องราว เป็นความเชื่อที่เบ่าสืบต่อกันมา โดยใช่พยามแวดล้อมที่ปรากฎอยู่เป็นเครื่องยืนยัน

เรื่องทำนองนี้สามารถนำมาเสริมประกอบการเขียนให้มีรสชาติได้ เพราะเกร็ดความรู้เล็กๆน้อยๆ ช่วยเสริมเรื่องจริงให้เด่นขึ้น คนอ่านก็ได้ทั้งสาระและความบันเทิงควบคู่กันไป








วันอังคารที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2551

นมเปรี้ยว

ชาวอินเดียเคยเรียกโยเกิร์ตว่า "อาหารของพระเจ้า" เชื่อกันว่ามันช่วงรักษาอาการนอนไม่หลับ ลบรอยตีนกาเป็นยาอายุวัฒนะ

ดร.เอเลียส ผู้ได้รางวัลโนเบลในปี 1908 เคยประกาศความเชื่อไว้ในหนังสือ The Prolongation of life และ The Nature of Man เมื่อปี 1907 ว่า "นมเปรี้ยว คือยาอายุวัฒนะสำหรับมนุษย์"

คนทั่วไปเชื่อว่านมเปรี้ยวช่วยลดความอ้วน ชวนให้น่าติดตามว่า นมเปรี้ยวเป็นเพียง "นม" ที่มีรส "เปรี้ยว" หรือ เป็นอาหารที่มีคุณค่าต่อสุขภาพมากไปกว่าอาหารธรรมดาชนิดหนึ่ง

นมเปรี้ยว-ความสับสน

นมเปรี้ยว ในความรู้สึกของคนไทย คือนมที่มีรสเปรี้ยว
งั้นเอามะนาวบีบใส่น้ำนม จะได้นมเปรี้ยวไหม ?
ได้ครับ…ได้นมเปรี้ยวเหมือนกัน แต่ไม่ใช่นมเปรี้ยวที่ผมจะกล่าวถึงในบทความนี้

จากความหมายที่ว่า นมเปรี้ยวคือนมที่มีรสเปรี้ยว การทำนมให้เปรี้ยว จึงอาจทำโดนเติมกรดรสเปรี้ยวลงไปในน้ำนม หรือจะหมักน้ำนมด้วยจุลินทรีย์บางชนิด จนเกิดรสเปรี้ยวเองตามธรรมชาติแบบคนโบราณก็ย่อมได้ การหมักแบบนี้ก็เหมือนกับการทำน้ำส้มสายชูดอง หน่อไม้ดอง ผักกาดดอง ดังนั้นนมเปรี้ยวก็คือนมดองชนิดหนึ่ง

นมเปรี้ยวที่ผมกำลังจะพูดถึงต่อไป ผมเรียกมันว่า นมเปรี้ยวแท้ คือนมเปรี้ยวที่ใช้กรรมวิธีแบบดั้งเดิม เปรี้ยวจากการหมัก และมีจุลินทรีย์ที่ยังมีชีวิตหลงเหลืออยู่จำนวนมาก
ส่วนนมเปรี้ยวที่เอากรดมาเติมให้มีรสเปรี้ยว ผมถือว่าเป็นนมเปรี้ยวเทียม ทำขึ้นมาเพียงเพื่อปรุงแต่งรสชาติ ไม่มีคุณสมบัติเป็น "ยาอายุวัฒนะ" หรือ "อาหารของพระเจ้า" ตามที่กล่าวข้างต้น

ผู้บริโภคชาวไทยส่วนใหญ่คงสับสน ไม่รู้ว่า นมเปรี้ยวที่ขายตามท้องตลาด ชนิดใดเป็นนมเปรี้ยวแท้ ชนิดใดเป็นนมเปรี้ยวเทียม เพราะมีขายสารพัดยี่ห้อ รสชาติเหมือนกัน ดังนั้นผมจะกล่าวถึงวิธีดูนมเปรี้ยวที่คุณดื่ม เป็นแบบใดในตอนท้ายครับ

นมเปรี้ยวโยเกิร์ต

วัฒนธรรมการดื่มนมเปรี้ยวในคนไทยทุกวันนี้ ได้อิทธิพลจากตะวันตกด้วยความเชื่อว่า อุดมด้วยคุณค่าทางโภชนาการและให้พลังงานต่ำ เราเรียกนมเปรี้ยวอีกชื่อว่า "โยเกิร์ต" ซึ่งมาจากภาษาฝรั่ง Yogurt หรือ Yoghurt ฝรั่งเองก็ยืมคำนี้มาจากภาษาตุรกี

ในเชิงวิชาการ โยเกิร์ตเป็นผลิตภัณฑ์นมที่ได้จากการหมักและตกตะกอนจับเป็นก้นอวุ้นข้นๆ ด้วยแบคทีเรียที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ทำได้ทั้งจากนมวัว แพะ แกะ อูฐ และควาย โยเกิร์ตทำได้ง่ายมาก จัดเป็นอาหารก้นครัวของหลายประเทศ

เชื่อว่าชาวตุรกีเป็นผู้ค้นพบโยเกิร์ต ทุกวันนี้ชาวตุรกีทำโยเกิร์ตโดยต้มนมในหม้อเปิดฝาเพื่อให้นมข้น และฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่มีอยู่ในน้ำนมตามธรรมชาติ หลังจากทิ้งให้อุ่น ก็ผสมโยเกิร์ตเก่าที่เหลือจากเมื่อวานลงไปเป็นหัวเชื้อ ทิ้งไว้สองสามชั่วโมงจนเย็นเท่าอุณหภูมิห้องก็พร้อมรับประทาน

ในทางอุตสาหกรรม ผู้ผลิตใช้นมสดผสมกับนมผงเพื่อให้เข้มข้น เติมเชื้อ Streptococcus thermophilus และ Lactobacillus bulgaricus บางทีก็ใช้ L. acidophilus หรือยีสต์ตัวอื่นๆ ใส่ลงไปด้วย แล้วหมักไว้ที่อุณหภูมิ 43-44 องศาเซลเซียส นาน 4-5 ชั่วโมง จะเห็นนมเปลี่ยนเป็นครีมข้น เกิดรสเปรี้ยวจากกรดแลคติกที่เชื้อปล่อยออกมา

ดังนั้น นมเปรี้ยวที่เกิดจากกรรมวิธีหมัก จะเป็นนมเปรี้ยวที่มีทั้งกรดแลคติก และเชื้อจุลินทรีย์ที่มีชีวิตปนอยู่ในน้ำนม ทุกครั้งที่ทานหรือดื่มโยเกิร์ต เราไม่เพียงได้รับสารอาหารที่เป็นประโยชน์เท่านั้น แต่เรายังได้รับจุลินทรีย์ที่ยังมีชีวิตจำนวนหนึ่งเข้าสู่ร่างกายด้วย และเจ้าจุลินทรีย์ที่มีชีวิตนี้เอง คือตัวการสำคัญที่ทำให้นมเปรี้ยวมีคุณค่าต่อร่างกายเหนือนมเปรี้ยวชนิดที่ทำเทียมด้วยการเติมกรดพอให้มีรสเปรี้ยว

เหตุเพราะมันมีจุลินทรีย์ที่ยังมีชีวิต นมเปรี้ยวแบบโยเกิร์ต จึงต้องเก็บรักษาในตู้เย็นที่อุณหภูมิ 7 องศาเซลเซียส จะเก็บได้นานประมาณ 15 วัน แต่ถ้าเก็บที่ 1 องศาเซลเซียสจะอยู่ได้นานถึงสองเท่า

นมเปรี้ยวที่วางขายในบ้านเรา ทำจากนมวัว อาจผสมสารให้ความหวาน น้ำตาล ผลไม้ สารแต่งกลิ่นและสีตามสูตรผู้ผลิต บางคนทานโยเกิร์ตกับผลไม้สด บางครั้งผู้ผลิตผสมนมและทำให้เจือจางเพื่อดื่มได้ หรือทำในรูปไอศกรีม ชาวอินเดียผสมโยเกิร์ตในอาหารคาว แต่งรสเปรี้ยว หรือใส่ผักหรือแตงกวาคล้ายอาจาตเรียก Raita แถบอาหรับเรียก jajik

นมเปรี้ยวเป็นอาหารอุดมโภชนาการที่ย่อยง่ายกว่าน้ำนมสด อุดมด้วยโปรตีน วิตามินบี และแคลเซียม โยเกิร์ตในขนาดเสิร์ฟ 1 ขวดเล็กหรือ 14 ถ้วยเล็ก (คำนวณจากโยเกิร์ตที่ขายในแมคโดนัลด์) เทียบกับน้ำนมสดหนึ่งแก้วดื่ม หรือ 1 กล่องมาตรฐาน 240 ซีซี พบว่านมและนมเปรี้ยวให้พลังงานใกล้เคียงกัน ในขนาดหนึ่งอิ่มแต่ปริมาณโคเลสเตอรอลในโยเกิร์ตต่ำกว่ามาก

คุณค่าต่อสุขภาพ

ผู้ที่เชื่อถือคุณค่าของนมเปรี้ยวต่อสุขภาพมากที่สุด เห็นจะไม่มีใครเกินดร.เอเลียส เมทช์นิคอฟ นักวิทยาศาสตร์ผู้มีชื่อในปลายศตวรรษที่ 19 เพื่อนสนิทของหลุยส์ ปาสเตอร์

ดร.เอเลียส เป็นผู้ค้นพบ "Phagocytes" เซลล์ที่ทำหน้าที่เป็นทหารประจำบ้าน เคลื่อนที่ไปในกระแสเลือด คอยจับกินเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมที่หลุดเข้าไปในร่างกาย ผลงานด้านภูมิคุ้มกันมนุษย์ทำให้เขาได้รางวัลโนเบลในปี 1908 เมื่อเขาตายในปี 1916 นิตยสารเนเจอร์ได้สดุดี ดร.เอเลียสว่าเป็นนักวิทยาศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่คนหนึ่งของโลก

และนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบลผู้นี้แหละที่กล้าประกาศว่า "โยเกิร์ตคือยาอายุวัฒนะสำหรับมนุษย์" ในหนังสือ The Prolongation of life และ The Nature of Man เมื่อปี 1907

โบราณว่าจิ้งจกทักยังฟัง แล้วนักวิทยาศาสตร์ระดับโลกออกมากล่าวเช่นนี้มีหรือคนจะไม่ฟัง งานวิจัยเกี่ยวกับคุณประโยชน์ของโยเกิร์ตจึงเริ่มนับแต่บัดนั้นจนทุกวันนี้





วันศุกร์ที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2551

Danse




Dans son acception la plus générale, la danse est l'art de mouvoir le corps humain selon un certain accord entre l'espace et le temps, accord rendu perceptible grâce au rythme et à la composition chorégraphique.

La danse est un art corporel constitué d'une suite de mouvements ordonnés, souvent rythmés par de la musique.

Les danses se fondent soit sur un ensemble défini de mouvements dénués de signification en eux-mêmes, comme souvent dans le ballet ou les danses folkloriques européennes, soit sur une gestuelle symbolique, sorte de mime ou de pantomime, comme dans la plupart des danses asiatiques.

Chaque peuple danse pour des motifs distincts et de façon différente, très révélatrice de leur mode de vie.

Généralités
La danse peut être un art, un rituel ou un divertissement. Elle exprime des idées et des émotions ou raconte une histoire. La danse a en général un rapport direct dans l'histoire avec les autres arts (musique, peinture, sculpture, etc.)

Le corps peut réaliser toutes sortes d'actions comme tourner, se courber, s'étirer, ou sauter. En les combinant selon des dynamiques variées, on peut inventer une infinité de mouvements différents. Le corps passe à l'état d'objet, il sert a exprimer les émotions du danseur à travers ses mouvements, l'art devient le maître du corps.

Origines
Les premières indications sur l'exécution de danses datent de la Préhistoire, au paléolithique, où des peintures rupestres attestent de l'existence de danses primitives.

Il s'agit avant tout d'un acte cérémoniel et rituel, adressé à une entité supérieure afin de:

conjurer le sort (danse de la pluie)
donner du courage (danse de la guerre ou de la chasse)
plaire aux dieux (Antiquité égyptienne, grecque et romaine)
La danse primitive, couplée aux chants et à la musique, avait aussi probablement la capacité de faire entrer les participants dans un état de transe.