วันพฤหัสบดีที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2551

ศุกร์ 13 วันอาถรรพ์


ศุกร์นี้ตรงกับวันที่ 13 พอดีเล้ยย

ความเชื่อที่ว่าถ้าวันศุกร์เกิดไปตรงกับวันที่ 13 ของเดือนใดก็ตามแล้ว จะกลายเป็นวันแห่งความโชคร้ายนั้น เป็นความเชื่อที่อยู่ในบรรดาชาติที่พูดภาษาอังกฤษทั่วโลก และยังขยายไปถึงชาติอื่นๆอีกด้วย และในประเทศบางประเทศอย่าง กรีซ สเปน ถือเอาวันอังคารที่ 13 เป็นวันโชคร้ายเช่นกัน สำหรับโรคกลัววันศุกร์ที่ 13 มีชื่อเรียกว่า Paraskavedekatriaphobia หรือ paraskevidekatriaphobia หรือ friggatriskaidekaphobia ซึ่งเป็นอาการหนึ่งของโรค triskaidekaphobia คือ โรคกลัวหมายเลข 13

จุดเริ่มต้นความเชื่อเรื่องศุกร์ 13 นั้น เชื่อมโยงกับความเชื่อที่ว่ามีคน 13 คนร่วมทานอาหารมื้อสุดท้ายกับพระเยซู (The Last Supper) ก่อนที่พระองค์จะถูกนำตัวไปตรึงบนไม้กางเขนในวันศุกร์ประเสริฐ (Good Friday) กระนั้น ไม่มีหลักฐานใดที่บ่งชี้ว่า ประชาชนถือเอาว่าวันศุกร์ที่ 13 เป็นวันโชคร้ายจนเมื่อมาถึงศตวรรษที่ 19 อย่างไรก็ตาม หมายเลข 13 มีประวัติว่ามีความเกี่ยวข้องกับเรื่องโชคร้ายมายาวนาน เนื่องจาก ตามปฏิทินจันทรสุริยคติแล้ว ในบางปีต้องมีเดือน 13 เดือน ขณะที่ตามปฏิทินเกรกอเรียนและปฏิทินของศาสนาอิสลามจะมี 12 เดือนเสมอ

ขณะที่บ้างก็ว่า ความเชื่อนี้มีจุดเริ่มต้นมาจากความเชื่อและตำนานของชาวนอร์สในดินแดนสแกนดิเนเวียที่เรียกว่า Norse myth เกี่ยวกับเทพ 12 องค์ มารวมกันจัดงานเลี้ยงในห้องโถงของเอกีร์ เทพแห่งมหาสมุทร แต่แล้วเทพแห่งไฟที่ชื่อ โลกิ ซึ่งไม่ได้รับเชิญมาร่วมงานจึงพังประตูรั้วเข้ามาร่วมงานในฐานะแขกคนที่ 13 และยังให้เทพฮอดซึ่งเป็นเทพแห่งความมืดมิดซึ่งตาบอดโยนกิ่งของพืชกาฝากใส่ บาลเดอร์ เทพแห่งความสุขและความยินดี จนบาลเดอร์สิ้นลมหายใจไปในทันที ทำให้โลกต้องตกอยู่ในความมืดมิดและความเศร้าสลด

กระนั้น ความเชื่อนี้มีผู้แย้งว่าเป็นไปไม่ได้ เนื่องจากข้อความในบทกวีโลกาเซนนาที่เป็นภาษาโอลด์นอร์สได้มีการกล่าวถึงชื่อเทพ 17 องค์ที่ไปร่วมงานเลี้ยงดังกล่าว ซึ่งระบุว่าเทพโลกิเป็นผู้พังประตูรั้วเข้าไปจริง แต่ว่าเขาไม่ใช่คนที่ 13 และยังไม่มีความเชื่อมโยงระหว่างบทดังกล่าวกับการถึงจุดจบของเทพบาลเดอร์อีกด้วย

ด้วยเหตุนี้ คำอธิบายในข้อแรกจึงดูมีความเชื่อมโยงกับเรื่องความโชคร้ายของเลข 13 ที่เก่าแก่ที่สุดในอังกฤษ ซึ่งมีการบันทึกเอาไว้ในศตวรรษที่ 18 โดยเชื่อกันว่า เมื่อไหร่ก็ตามที่คน 13 คนมานั่งทานอาหารร่วมโต๊ะเดียวกันแล้ว คนที่ลุกจากโต๊ะไปเป็นคนแรกจะเป็นคนแรกที่ต้องตาย

อีกทฤษฏีที่กล่าวถึงวันศุกร์ที่ 13 ระบุว่า วันศุกร์ที่ 13 ตุลาคม 1307 เป็นวันที่พระเจ้าฟิลิปที่ 4 แห่งฝรั่งเศส ทำการจับกุมตัวบรรดาอัศวินเทมพลาร์ชาวฝรั่งเศสจำนวนหลายร้อยคนไป ก่อนจะนำตัวไปทรมานและสังหาร เพื่อนำทรัพย์สินของพวกเขามาเป็นของฝรั่งเศส

ทั้งนี้ เรื่องที่น่าแปลกเกี่ยวกับวันศุกร์ที่ 13 คือ มีหลักฐานที่ยืนยันว่า วันศุกร์ที่ 13 เป็นวันโชคร้ายสำหรับใครบางคนจริงๆ โดยนักจิตวิทยาพบว่า ในบางคนจะมีโอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุหรือล้มป่วยในวันศุกร์ที่ 13 ซึ่งมีการให้เหตุผลเอาไว้ว่าเป็นเพราะบางคนรู้สึกวิตกจริตเป็นอย่างมากในวันศุกร์ที่ 13 โดยทางศูนย์จัดการความเครียดและสถาบันอาบำบัดการกลัวในเมืองแอชวิลล์ มลรัฐนอร์ทแคโรไลนา ประเมินว่าในแต่ละครั้งที่มีวันศุกร์ที่ 13 สหรัฐอเมริกาต้องสูญเสียทางเศรษฐกิจเป็นเงิน 800 900 ล้านเหรียญสหรัฐฯทีเดียว เพราะว่าประชาชนบางคนไม่กล้าเดินทางไปไหนและไม่กล้าแม้แต่จะไปทำงาน

วันอาทิตย์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2551

Blythe


A BRIEF HISTORY OF BLYTHE AND HER REINCARNATION


Manufactured by Kenner in 1972, the original Blythe was designed by Marvin Glass & Associates, one of the world's foremost toy design studios. When the Toy Industry Hall of Fame was established in 1984, Marvin Glass was in the first group inducted (which coincidently also included Merrrill L. Hassenfeld of Hasbro, Inc.), ten years after his death. Kenner was bought out by Tonka Toys, which in turn was bought out by Hasbro in the mid-1980s. And that is how Hasbro has come to own the Blythe property.



In 1972, children found the large eyes that changed from green to pink to blue to orange with the pull of the drawstring at the back of Blythe's head a bit on the scary side. Blythe was produced for only one year, but it is now apparent that she was ahead of her time. For many years, Blythe was a curiosity that only doll collectors were interested in. Then in 1997, a friend introduced Gina Garan to Blythe, thinking that Gina looked like the doll. Gina had just been given an old camera and she needed to test it. Her first photos using that camera were of Blythe. Gina, who works as a video and TV producer, started carrying at least one of her Blythes wherever she went on her travels around the world and took many photos.

In December 1999, at the opening of an exhibition for the CWC International artists in Soho, New York, Gina showed her photos to Junko Wong. Junko took these photos to Parco and made a presentation for an exhibition and as a "virtual model" for Parco's innovative sales promotions. In the summer of 2000, This is Blythe, photos by Gina Garan, was published by Chronicle Books. The Christmas 2000 Parco campaign featured Blythe in a TV commercial and print media and Blythe took off in Japan. On eBay, vintage Blythes jumped in price from $35 to $350. Blythe continued as Parco's "image girl" through the spring and into the summer of 2001. The price for vintage Blythes jumped to thousands of dollars U.S. on eBay. Even the Neo-Blythes are sold for up to four times their retail price on the Yahoo auction site in Japan.


In June 2001, the first of the Neo-Blythes - produced by CWC and manufactured by Takara - went on the market. The launch of the neo-Blythes was in conjunction with a photo exhibition by Gina Garan. Gina made the trip from New York for the launch and exhibition.

The Parco Limited Edition (1000 dolls), sold out in less than an hour, was followed by the Mondrian, and then Rosie Red, Holly Wood, All Gold In One, Kozy Kape Inspired, Aztec Arrival Inspired, Sunday Best, and in conjunction with the first year anniversary of the neo-Blythes in Japan, Miss Anniversary Blythe. The first year anniversary was marked by a series of Blythe events in Tokyo, which included an exhibition and charity fashion show at the Spiral Hall in Aoyama and exhibitions at the Rocket and CWC Galleries, and at IMS in Fukuoka, Kyushu. The exhibition featured photos by Gina Garan and dolls styled by artists, fashion designers, and Blythe fans. The fashion show featured couture for Blythe by such internationally known designers as: Issey Miyake, Chisato Tsumori, and Hysteric Glamour.